บทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Linear Equations in one Variable
OUR GOALS
จิตพิสัย 3 คะแนน
บทที่ 1
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมุด ใบงาน 5 คะแนน
(15 คะแนน)
สอบท้ายบท 7 คะแนน
แหล่งความรู้
01. การเตรียมความพร้อม
ก่อนรู้จักสมการ
02. สมการและคาตอบ
ของสมการ
03. การแก้สมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว
04. โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
01.
การเตรียมความพร้อม
ก่อนรู้จักสมการ
OVERVIEW
การเตรียมความพร้อม
ก่อนรู้จักสมการ
การหาค่า การเขียน
นิพจน์พีชคณิต นิพจน์พีชคณิต
P.12
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ในระดับชั้นประถมฯ นักเรียนเคยพบประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้
4 + 5 = 9
7 - 2 = 5
2 x 4 = 8
42 7 = 6
เมื่อ a เป็นจานวนใด ๆ
a+0 = a = 0+a
ax1 = a = 1xa
a + (-a) = 0 = (-a) + a
a x 1/a = 1 = 1/a x a
P.12
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ในระดับชั้นประถมฯ นักเรียนเคยพบประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้
P.13
เงินใคร....มีเท่าไหร่กัน?
“ภูมิมเี งินเป็นสองเท่าของเงินทีพ
่ ฤกษ์มี”
จะได้วา่ ... ถ้าพฤกษ์มเี งิน 1 บาท ภูมิจะมีเงิน 2 X 1 = 2 บาท
Example
3b
8x 2
3c - 6
2 4x + y
xy 9b + 7
“ เมื่อเรามีนิพจน์พีชคณิตนิพจน์หนึ่ง การหาค่านิพจน์ของพีชคณิตนั้น
เราสามารถทาได้โดยแทนตัวแปรในนิพจน์พีชคณิตด้วยจานวน
ที่ต้องการ แล้วคานวณหาค่าของนิพจน์พีชคณิตนั้น ”
Example จงหาค่านิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้
1. 2x+36 เมื่อ x = 30
2x+36 = 2(30)+36
= 60 +36
= 96
2. 4(7+x) เมื่อ x = 13
4(7 + x) = 4(7 + 13)
= 4(20)
= 80
P.14
Example จงหาค่านิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้
5𝑘 2 +8
3. เมื่อ k = 2
2
5𝑘 2 +8 5(2)2 +8
2
= 2
5(4)+8
= 2
20 + 8
= 2
= 14
P.14
Example จงหาค่านิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้
= - 30 + 5(1)
= - 30 + 5
= - 25
P.14
ลองคิดดู
P.14
P.15
แบบฝึกหัด 1.1 ก จงหาค่านิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้
4. 3m + 23 เมื่อ m = 5
3
4. 3m + 23 เมื่อ m = 5
P.15
แบบฝึกหัด 1.1 ก จงหาค่านิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้
อาจารย์อ้อมต้องจ่ายเงิน.....................................บาท a 30
ฉันต้องจ่ายเงิน............................................บาท
P.17-18
Example การเขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อความจากสถานการณ์ที่กาหนดให้
3. มีจานวนแครอทอยู่ครึ่งหนึ่งของจานวนแอปเปิล
มีจานวนแครอท............................................................... ผล
7. ผลบวกของจานวนคู่ 2 จานวนที่เรียงติดกัน
Example การเขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อความจากสถานการณ์ที่กาหนดให้
8. สามในห้าของสองเท่าของผลต่างของ t กับ 4
P.20 (1.1ข)
Example จงเขียนนิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1. 3x + 4x 5. 10m + 6m - m
3. 7a + 2a + 3a 7. 16x – 4x - 10 + 3
P.20 (1.1ข)
Example จงกระจายนิพจน์ต่อไปนี้โดยใช้สมบัติการแจกแจง
1. 5(x + 1) 5. 10(8 - x)
3. -4(y + 8) 7. –3(10 - m)
แบบฝึกหัด 1.1 ข
ส่ง ________________
(P. 20)
02.
สมการและคาตอบ
ของสมการ
OVERVIEW
สมการและคาตอบ
ของสมการ
สมการ คาตอบ
ของสมการ
เป็นจริง ไม่เป็นจริง
P.13
สมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้
Example
พิจารณา
7 + 4 = 12 y + 8 < 10 3x – 1 = 5
50 + 2 = 52 40 – 25d ≠ 10 a ÷ 7 > 49
Exercise จงเขียนเครือ่ งหมาย หน้าสมการทีเ่ ป็นจริง
และเขียนเครือ่ งหมาย หน้าสมการทีไ่ ม่เป็นจริง
1. ( -7 ) + ( -8 ) = -14 3. 4 x 23 = 82
X + 5 = 20
P.24
1) t – 3 = - 6
P.24
Example จงหาคาตอบของสมการต่อไปนี้โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
2
2) n = 49
P.24
Example จงหาคาตอบของสมการต่อไปนี้โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
3) m + 4 = 4 + m
4) y + 8 = y
P.25
3) -2 = - 15 – m [13] 8) C = 6 [180]
-30
ลองทาดู จงเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ในแต่ละข้อแล้วหาคาตอบ
โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
9 ลบด้วยจานวนจานวนหนึ่ง เท่ากับ 3
ใบงานออนไลน์
ส่ง ________________
03.
การแก้สมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว
OVERVIEW
การแก้สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
สมบัติของการเท่ากัน การแก้สมการ
สมบัติสมมาตร
สมบัติถ่ายทอด
สมบัติของการเท่ากัน
เกี่ยวกับการบวก
สมบัติของการเท่ากัน
เกี่ยวกับการคูณ
3 x - 5 = 29
2
2
คาตอบของสมการ คือ 22
3
P.29
สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก
(Additive property of equality)
สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ
(Multiplicative property of equality)
P.29
สมบัติสมมาตร ( Symmetric property )
ถ้า a = b แล้ว b = a
เมื่อ a และ b แทนจานวนใด ๆ
Example
P.29
สมบัติถ่ายทอด ( Transitive property)
“ ถ้ามีจานวนสองจานวนเท่ากัน
เมื่อนาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
แล้วผลลัพธ์จะเท่ากัน ”
P.30 สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก
(Additive property of equality)
Example
P.30 สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก
(Additive property of equality)
ข้อสังเกต !
Example
P.30 สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ
(Multiplicative property of equality)
ถ้า a = b แล้ว ca = cb
เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใด ๆ
Example
“ ถ้ามีจานวนสองจานวนเท่ากัน
เมื่อนาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
แล้วผลลัพธ์จะเท่ากัน “
P.30 สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ
(Multiplicative property of equality)
Example
P.30 สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ
(Multiplicative property of equality)
ข้อสังเกต !
จานวนที่นามาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจจะเป็นจานวนเต็มหรือ
เศษส่วนก็ได้ มีความหมายเหมือนกับนาจานวนเต็มนั้นมาหารจากจานวน
ทั้งสองข้างของสมการ
Example
P.31 (1.3ก)
ลองทาดู จงเติมข้อความต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
Example1
จงแก้สมการ x – 36 = 52
Workbook
P.15
Example2
1 1
จงแก้สมการ 𝑐 − 7 2 = 2
Workbook
P.15
Example3
จงแก้สมการ z + 25 = 75
Workbook
P.16 (ปรับโจทย์)
Example4
จงแก้สมการ b + 3.2 = - 6.8
Workbook
P.17
Example5 𝑎
จงแก้สมการ 18 = 9
Workbook
P.17
Example6
𝑐 2
จงแก้สมการ 1 = 3
2
Workbook
P.18 (ปรับโจทย์)
Example7
จงแก้สมการ 15x = - 90
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
1. h – (-57) = -43
−𝑦
2. = -8
6
k 1
3. − 15 = 75
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
1. h – (-57) = -43
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
−𝑦
2. = -8
6
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
k 1
3. − 15 = 75
P.38
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
Example 3a - 4 = 8
P.38
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
Example 3a - 4 = 8
P.39
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
1
Example c+3 =1
2
P.40
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
Example 5x + 3 = 3x - 5
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
1. 2x + 5 = 19
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
2. 7 – 3x = 6x - 2
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝒙
3. − 𝟔 = 𝟏𝟎
𝟐
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝒙 −𝟑
4. =𝟖
𝟐
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝟒
5. (𝒙 − 𝟏𝟎) = 𝟐𝟖
𝟓
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝒙 −𝟏 𝒙+𝟒
6. =
𝟕 𝟏𝟐
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
7. 2(3x + 3) – 5x = 2(x + 1)
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝒙 𝟒 𝟐𝒙 𝟏
8. + = +
𝟑 𝟓 𝟑 𝟓
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝟓 𝟏
9. 𝒙 −𝟑 = 𝟖 − 𝒙
𝟒 𝟖
ให้นักเรียนแก้สมการต่อไปนี้
𝟐 𝟏𝟎
10. 𝟏 + 𝟐𝒙 =
𝟑 𝟑
สมการที่อยู่ในรูป ax + b =0
เมื่อ a , b เป็นจานวนใดๆ และ a ≠ 0 เรียกว่า
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (Linear equation with one variable)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีลักษณะ ดังนี้
มีตัวแปรเพียงตัวเดียว
เลขชี้กาลังของตัวแปรเท่ากับ 1
ข้อ 1 - 3
ส่ง ________________
P. 20 - 21
04.
โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
OVERVIEW
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเขียนสมการแทน การแก้โจทย์ปัญหา
สถานการณ์หรือปัญหา
จานวน
ความยาวและพื้นที่
อายุ
เงินและเหรียญ
ครูเลี้ยงปลาหางนกยูงในอ่างไว้จานวนหนึ่ง ต่อมาปลาหางนกยูงตายไป 6 ตัว
ปรากฏว่า เหลือปลาหางนกยูงในอ่าง 20 ตัว อยากทราบว่าเดิมครูเลี้ยงปลาหางนกยูงกี่ตัว
จากสถานการณ์ดังกล่าว นามาเขียนให้อยู่ในรูปสมการได้อย่างไร
จะเขียนเป็นสมการได้ คือ b − 6 = 20
กะทิซื้อของหน้ากากอนามัย 1 กล่องและสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือ 2 ขวดจากร้านขายยาและได้รับใบเสร็จ
แต่กะทิไม่ทันระวัง จึงเผลอทาให้แอลกอฮอล์หยดใส่ใบเสร็จ ทาให้มองตัวหนังสือไม่เห็น
แต่กะทิจาได้เพียงว่า ซื้อของมาทั้งหมด 126 บาท หน้ากากอนามัย 1 กล่องราคา 98 บาท
แต่จาราคาสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือ 2 ขวดไม่ได้ อยากทราบว่า สเปรย์แอลกอฮอล์ขวดละเท่าไร
? ฿
98 ฿
กาหนดให้ x แทนราคาของสเปรย์แอลกอฮอล์หนึ่งขวด
2x + 98 = 126
2x = 126 - 98
2x = 28
x = 14
ระยะทางจากเสาชิงช้าไปยังวัดพระแก้วน้อยกว่าระยะทางจากวัดพระแก้วไปยังวัดแจ้งอยู่
3.8 กิโลเมตร ถ้าระยะทางจากเสาชิงช้าผ่านวัดพระแก้วไปยังวัดแจ้งเป็น 6.8 กิโลเมตร
จงเขียนสมการเพื่อหาระยะทางจากวัดพระแก้วไปยังวัดแจ้ง
กาหนดให้
ระยะทางจากวัดพระแก้วไปยังวัดแจ้ง เป็น d กิโลเมตร
d – 3.8 d
แสดงว่า
ระยะทางจากเสาชิงช้าไปยังวัดพระแก้ว เป็น 3.8กิโลเมตร
13 + 20 + 24 + x
เขียนสมการได้ว่า = 20
4
การฝึกเขียนสถานการณ์แทนปัญหา
เมื่อสามปีที่แล้ว ฝาแฝดคู่หนึ่งมีอายุรวมกันเป็น 26 ปี
จงหาว่าปัจจุบันฝาแฝดคู่นี้มีอายุเท่าใด
3 ปีที่แล้ว ปัจจุบัน
อายุรวมกันได้ 26 ปี ?
เขียนสมการได้ว่า 2(x - 3) =
26
การฝึกเขียนสถานการณ์แทนปัญหา
“ เศษสามส่วนสี่ของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสามอยู่ห้า ”
จงเขียนสมการเพื่อหาค่าของจานวนนั้น
เราต้องการทราบค่าใด
จานวนจานวนหนึ่ง
สิ่งที่ยังไม่ทราบค่าควรกาหนดด้วยอะไร
กาหนดด้วยตัวแปร คือ b
3
เขียนสมการได้ว่า b − 13 = 5
4
การฝึกเขียนสถานการณ์แทนปัญหา
ใบงาน ในเอกสารประกอบการเรียน
ขั้นที่ 1 S (Search the word problem) การศึกษาโจทย์ปัญหา
31
5x
6
6
Example
ขั้น T : แปลงข้อมูลที่อยู่ในโจทย์ไปสู่รูปภาพ ตารางหรือสมการทางคณิตศาสตร์
เขียนสมการได้เป็น 5x–6 =
6
31
Example
ขั้น A : หาคาตอบของโจทย์ปัญหา (แก้สมการ)
จากสมการ 5x–6 =
6
31
5 x – 6 + 6 = 31 + 6
6
5 x = 37
6
5x = 37 x 6
5x = 222
จะได้ [5 x (222) – 6 = 31
6 5
]
222 - 6 = 31
6
37 - 6 = 31
31 = 31 ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
22
ดังนั้น จานวนนั้น คือ 25
ตอบ 22
จานวนนั้น คือ
25
Example
แบบที่ 3 สื่อที่เป็นนามธรรม
จากสมการ x – (4 x 3) = 9
x – (12) = 9
x = 9 + 12
ดังนั้น x = 21
Example
ขั้น R : ตรวจสอบคาตอบ
คาตอบที่ได้สอดคล้องกับโจทย์หรือไม่ (…..…)
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา ปัจจุบันลิซ่ามีอายุกป
ี่ ี / อายุปัจจุบันของลิซ่า
:
Example
สามารถเขียนตารางเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
9 ปีที่แล้ว ปัจจุบน
ั อีก 6 ปีข้างหน้า
x+6 = 2(x – 9)
สมมติให้ x แทน อายุปัจจุบันของลิซ่า (ปี)
ดังนั้น เขียนสมการได้เป็น
x + 6 = 2(x – 9)
Example
นั่นคือ ปัจจุบันลิซ่ามีอายุ 24 ปี
Example
ขั้น R : ตรวจสอบคาตอบ
คาตอบที่ได้สอดคล้องกับโจทย์หรือไม่ (…..…)
ตอบ ปัจจุบันลิซ่ามีอายุ 24 ปี
อัพเดทผลงาน/กิจกรรมในชัน
้ เรียน 1/4
Example
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา ปัจจุบันคุณพ่อของเอมมีอายุกป
ี่ ี
:
Example
สามารถเขียนตารางเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
เอม
x+7 = 3x – 75
82 = 2x
ดังนั้น x = 41
จะได้ 41 + 7 = 3(41 – 32 + 7)
48 = 3(16)
48 = 48 ซึ่งเป็นสมการทีเ่ ป็นจริง
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา อายุของลูกทั้งสามคน
:
Example
สามารถเขียนตารางเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
แนวคิดที่
1
อายุ คนเล็ก คนกลาง คนโต อายุรวมของทั้งสามคน
x x+4 x+9 58
(ปี)
ลูกคนเล็กมีอายุน้อยกว่าลูกคนกลาง 4 ปี ดังนั้นลูกคนกลางมีอายุ x + 4 ปี
อายุของลูกทั้งสามคนรวมกันได้ 58 ปี
ดังนั้น เขียนสมการได้เป็น x + (x + 4) + (x + 9) = 58
Example
สามารถเขียนตารางเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
แนวคิดที่
2
อายุ(ปี) คนเล็ก คนกลาง คนโต
x-4 x (x – 4) + 9 = x + 5
อายุรวมของทั้งสามคน 58
ลูกคนเล็กมีอายุน้อยกว่าลูกคนกลาง 4 ปี ดังนั้นลูกคนกลางมีอายุ x - 4 ปี
อายุของลูกทั้งสามคนรวมกันได้ 58 ปี
ดังนั้น เขียนสมการได้เป็น (x - 4) + x + (x + 5) = 58
Example
สามารถเขียนตารางเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
แนวคิดที่
3
อายุ (ปี) คนเล็ก คนกลาง คนโต
x-9 (x – 9) + 4 = x - 5 x
อายุรวมของทั้งสามคน 58
ลูกคนเล็กมีอายุน้อยกว่าลูกคนกลาง 4 ปี ดังนั้นลูกคนกลางมีอายุ x - 9 ปี
อายุของลูกทั้งสามคนรวมกันได้ 58 ปี
ดังนั้น เขียนสมการได้เป็น (x - 9) + (x - 5) + x = 58
Example
จากสมการ (x – 9) + (x – 5) + x = 58
จะได้ 3x - 14 = 58
3x = 72
ดังนั้น x = 24
ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่ โจทย์กาหนดให้
ขวัญต้องการหาความยาวของด้านยาวและด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง ที่มีด้านกว้างสั้น
กว่าด้านยาวอยู่ 6 เซนติเมตร และมีเส้นรอบรูปยาว 80 เซนติเมตร
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา ความยาวของด้านยาวและด้านกว้างของรูปสี่เหลีย
่ มมุมฉาก
:
Example
สามารถวาดรูปภาพเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
2n + 2(x – 6) = 80
จากสมการ 2n + 2(n – 6) = 80
จะได้ 2n + 2(n – 6) = 80
2n + 2n – 12 = 80
4n = 80 + 12
4n = 92
ดังนั้น n = 23
ตอบ ด้านยาวของรูปสี่เหลีย
่ มมุมฉากมีความยาว 23 เซนติเมตร
และด้านกว้างของรูปสี่เหลีย
่ มมุมฉากมีความยาว 17 เซนติเมตร
Example
หมู่บ้านจัดสรรแห่งหนึง่ ต้องการสร้างสนามเด็กเล่นรูปสี่เหลีย
่ มผืนผ้าในบริเวณพื้นที่
สาธารณะของหมู่บา้ น โดยให้สนามเด็กเล่นมีดา้ นยาว ยาวเป็นสามเท่าของด้านกว้าง ถ้าความ
ยาวรอบรูปของสนามเด็กเล่นเป็น 360 เมตร จงหาว่าสนามเด็กเล่นแห่งนี้จะมีพื้นที่เท่าไร
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา สนามเด็กเล่นแห่งนี้จะมีพื้นที่เท่าไร
:
Example
สามารถวาดรูปภาพเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
2n + 2(x – 6) = 80
ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่โจทย์กาหนดให้
ตอบ สนามเด็กเล่นแห่งนี้มพ
ี ื้นที่ 6,075 ตารางเมตร
ลองทาดู ใบงาน เรื่อง โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกี่ยวกับความยาวและพื้นที่
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา แม่ให้เงินพ่อกีบ
่ าท
:
Example
สามารถวาดรูปภาพเพื่อประกอบการทาความเข้าใจได้ ดังนี้
2n + 2(x – 6) = 80
+
25 500 + 250 =
พ่อมีเงิน 500 บาท ถ้าแม่ให้มาอีก..........................บาท พ่อจะมีเงิน ...............................................บาท
0 750
750 / 5 = 150
แบ่งให้ลกู 5 คน จะได้คนละ ...........................................................................บาท
ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่ โจทย์กาหนดให้
สิ่งที่โจทย์ต้องการหา
:
เอ็มมีเหรียญห้าบาทและเหรียญบาทอย่างละกี่เหรียญ
Example
สมมติให้ x
. . .
. . .
. . .
5
สมมติให้ x แทน จานวนเหรียญห้าบาทที่เอ็มมี (เหรียญ) คิดเป็นเงิน ................................บาท
x30
เนื่องจาก มีเหรียญห้าบาทและเหรียญบาท รวมเป็นจานวน...........................เหรียญ
จะได้ 30 -
เหรียญบาทมีจานวน .......................เหรี 30 -
ยญ คิดเป็นเงิน ..............................บาท
x x
มีเงินทั้งสิ้น 90 บาท
ดังนั้น เขียนสมการได้เป็น 5(x) + (30 – x) = 90
Example
15 1
ถ้าเอ็มมีเหรียญห้าบาท …………………เหรียญ และมีเหรียญบาท……………………….. เหรียญ
5
5(15) +15 = 90
15 + 15 = 30 เหรียญ คิดเป็นเงิน ………………………………….บาท
เขาจะมีเหรียญรวมกัน ……………………
ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่ โจทย์กาหนดให้