แผนการจัดการเรียนรู้ส่ง
แผนการจัดการเรียนรู้ส่ง
แผนการจัดการเรียนรู้ส่ง
วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 ค 23201
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จัดทาโดย
นายเกตุม สระบุรินทร์
นายณัฏฐวัฒน์ ไชยโพธิ์
ผลการเรียนรู้
นาสมบัติของ a เมื่อ a 0 แก้ปัญหาได้
สาระสาคัญ
1.ค่าสมบูรณ์ของจานวนจริง a ใดๆที่ไม่เป็นศูนย์ เป็นจานวนจริงบวกเสมอ และค่าสัมบูรณ์
ของศูนย์เท่ากับศูนย์ เขียนแทนค่าสัมบูรณ์ของ a ด้วยสัญลักษณ์ a
เมื่ อ a 0 ค่า สั มบู ร ณ์ ข อง a เท่ ากั บ a เมื่ อ a 0 ค่า สั มบู รณ์ ข อง a เท่า กับ - a
และเมื่อ a 0 ค่าสัมบูรณ์ของ a 0
a เมื่อ
นั่นคือ a a เมื่อ
0
เมื่อ
2.สมบัติของรากที่สองของจานวนจริง
a 2 = a เมื่อ a เป็นจานวนจริงใดๆ
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อตกลงในห้องเรียน รวมทั้งเวลาการส่งงาน
2. ครูทบทวนเรื่องรากที่สองและความหมายของรากที่สอง โดยการถาม – ตอบกับ
นักเรียนจนได้ข้อสรุปดังนี้
กิจกรรมพัฒนา
3. ครูให้นักเรียนพิจารณาการหาคาตอบของตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1. 5 = 5
2. 5 = (5)
= 5
3. 10 = 10
4. 10 = (10)
= 10
4.ครูและนักเรียนร่วมกันหาข้อสรุปได้ดังนี้
ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง a ใดๆที่ไม่เป็นศูนย์ เป็นจานวนจริงบวกเสมอ และค่า
สัมบูรณ์ ของศูนย์เท่ากับศูนย์ และใช้สัญลักษณ์ a แทนค่าสัมบูรณ์ของ a
เมื่อ a 0 ค่าสัมบูรณ์ของ a เท่ากับ a เมื่อ a 0 ค่าสัมบูรณ์ของ a เท่ากับ
- a และเมื่อ a 0 ค่าสัมบูรณ์ของ a 0
a เมื่อ
นั่นคือ a a เมื่อ
0
เมื่อ
5. ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงหา 36
วิธีทา เนื่องจาก 36 = 62
= 6
ดังนั้น 36 = 6
ตอบ 6
ตัวอย่าง 2 จงหา 49
วิธีทา เนื่องจาก 49 = 72
= 7
ดังนั้น 49 = 7
ตอบ 7
ดังนั้น 25 p 2 q8 = 5 pq 4
ตอบ 5 pq 4
แต่ไม่ทราบว่า
หรือไม่ จึงต้องแสดง
เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์
6. ครูและนักเรียนร่วมกันหาข้อสรุปได้ดังนี้ เนื่องจาก
จึงไม่ต้องแสดงเครื่องหมายค่า
เมื่อ เป็นจานวนจริงใดๆ สัมบูรณ์
กิจกรรมรวบยอด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
8. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง สมบัติของรากที่สอง
สือ่ /อุปกรณ์/ แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงานที่1 เรื่อง สมบัติของรากที่สอง
2. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
นาสมบัติของ a เมื่อ a0 แก้ปัญหาได้
สาระสาคัญ
สมบัติของ a เมื่อ a0 มีสมบัติที่สาคัญสองข้อ ดังนี้
1 a b = ab เมื่อ a 0 , b 0
a a
2 = เมื่อ a 0, b 0
b b
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูทบทวนเรื่อง สมบัติของรากที่สอง โดยการถาม - ตอบกับนักเรียน
จนได้ข้อสรุปดังนี้
เมื่อ เป็นจานวนจริงใดๆ
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูให้นักเรียนพิจารณาการหาคาตอบของตัวอย่างต่อไปนี้ โดยครูเป็นผู้อธิบาย
และซักถาม
ตัวอย่าง 1 จงทา 8 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
วิธีทา เนื่องจาก 8 = 42
= 4 2
= 2 2
ดังนั้น 8 = 2 2
ตอบ 2 2
ตัวอย่าง 2 จงหาผลลัพธ์ 32 2
วิธีทา เนื่องจาก 32 2 = 32 2
= 64
= 82
= 8
ดังนั้น 32 2 = 8
ตอบ 8
m4
ตัวอย่าง 3 จงหาผลลัพธ์
25
m4 m4
วิธีทา เนื่องจาก =
25 25
= m2
5
m4
ดังนั้น = m2
25
5
ตอบ m2
5
ตัวอย่าง 4 จงหาค่าประมาณของ 12 เมื่อกาหนดให้ 3 1.732
วิธีทา เนื่องจาก 12 = 2 23
= 22 3
2 1.732
3.464
ดังนั้น 12 3.464
ตอบ ประมาณ 3.464
2 = เมื่อ ,
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 1
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถบวก ลบ จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองที่กาหนดให้ได้
สาระสาคัญ
1. สมบัติการสลับที่สาหรับการบวก
a b b a
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
( a b) c a ( b c)
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่องที่เรียนมาคาบที่แล้ว โดย ยกตัวอย่างเป็นการทบทวน
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูยกตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหาผลบวกหรือผลลบต่อไปนี้
(1) 5 2 9 2 (2) 5 48 6 3
3. ครูอธิบายว่าเราสามารถหาผลบวกหรือผลลบได้โดยใช้สมบัติการแจกแจง ดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงหาผลลบ 5 2 9 2
วิธีทา เนื่องจาก 5 2 9 2 = (5 9) 2
= 4 2
ดังนั้น 5 2 9 2 = 4 2
ตอบ 4 2
ตัวอย่าง 2 จงหาผลบวก 5 48 6 3
วิธีทา เนื่องจาก 5 48 6 3 = (5 4 2 3 ) 6 3
= (5 4 2 3 ) 6 3
= 20 3 6 3
= (20 6) 3
= 26 3
ดังนั้น 5 48 6 3 = 26 3
ตอบ 26 3
4. นักเรียนช่วยกันทาโจทย์ต่อไปนี้
(1) 8 3 9 3 (2) 6 20 13 5
(3) 80 45 20 (3) 7 20 9 45 2 80 4 125
5. ครูและนักเรียนสรุปเกี่ยวกับสมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการ
บวกจานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองได้ดังนี้
1. สมบัติการสลับที่สาหรับการบวก
a b b a
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
( a b) c a ( b c)
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.2ก ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถคูณ หาร จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองที่กาหนดให้ได้
สาระสาคัญ
1. สมบัติการสลับที่สาหรับการคูณ
a b b a
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
( a b) c a ( b c)
3. สมบัติการแจงแจง
a ( b c) ( a b) ( a c)
และ ( b c ) a ( b a ) ( c a)
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปญ ั หา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่องการบวก ลบ จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองโดย ยกตัวอย่าง
เป็นการทบทวน 2-3 ตัวอย่าง
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูนาเสนอตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหาผลคูณหรือผลหารต่อไปนี้
(1) 12 2 3
242
(2) 2
18
(3) 2 6 (3 6 2 24)
25
(4)
2
3. ครูอธิบายว่าเราสามารถหาผลคูณหรือผลหารได้โดยใช้สมบัติการแจกแจง ดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงหาผลคูณ 12 2 3
วิธีทา เนื่องจาก 12 2 3 = 2 23 2 3
= 2 32 3
= 2 2 ( 3)2
= 43
= 12
ดังนั้น 12 2 3 = 12
ตอบ 12
242
ตัวอย่าง 2 จงหาผลลัพธ์ 2
18
242 242
วิธีทา เนื่องจาก 2 = 2
18 18
121
= 2
9
= 2 11
3
22
ดังนั้น 2
242
= หรือ 7 1
18 7 3
22 1
ตอบ หรือ 7
7 3
ตัวอย่าง 3 จงหาผลลัพธ์ 2 6 (3 6 2 24)
วิธีทา เนื่องจาก 2 6 (3 6 2 24) = (2 6 3 6) (2 6 2 24)
= 6( 6)2 (2 6 2 4 6)
= (6 6) (2 6 4 6)
= 36 (8 6)
= 12
ดังนั้น 2 6 (3 6 2 24) = 12 การคูณด้วย เป็นการ
คูณด้วย 1 จึงไม่ทาให้ค่า
25
ตัวอย่าง 4 จงหาผลลัพธ์ ของ เปลี่ยนไป
2
25 25
วิธีทา เนื่องจาก =
2 2
5
=
2
5 2
=
2 2
5 2
=
2
25 5 2
ดังนั้น =
2 2
5 2
ตอบ
2
4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู่
ของการคูร การหาร และสมบัติการแจกแจง จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองได้ดังนี้
1. สมบัติการสลับที่สาหรับการคูณ
a b b a
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
( a b) c a ( b c)
3. สมบัติการแจงแจง
a ( b c) ( a b) ( a c)
และ ( b c) a ( b a) ( c a)
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.2 ข ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1.สามารถนาการบวก ลบ คูณ หาร จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองไปใช้แก้ปัญหาได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ
สาระสาคัญ
1. สมบัติการสลับที่สาหรับการบวก
a b b a
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการบวก
( a b) c a ( b c)
3. สมบัติการสลับที่สาหรับการคูณ
a b b a
4. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรับการคูณ
( a b) c a ( b c)
5. สมบัติการแจงแจง
a ( b c) ( a b) ( a c)
และ ( b c ) a ( b a ) ( c a)
ทักษะ/กระบวนการ
1) ในการแก้ปัญหา
2) ในการให้เหตุผล
3) ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. ทางานเป็นระบบ รอบคอบ
3. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่องการบวก ลบ คูณ และการหาร จานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่
สองโดย ยกตัวอย่าง
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1 กล่องทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีแต่ละด้านยาว 12 นิ้ว ดังรูป จงหาว่า
AC ยาว เท่าใด
ดังนั้น AC 2 = 12 288
2
= 432
จะได้ AC = 432
= 12 12 3
= 12 3
ดังนั้น AC = 12 3 นิ้ว
ตอบ 12 3 นิ้ว
ตัวอย่าง 2 ลานกีฬากลางแจ้งรูปวงกลมสองแห่งสาหรับผู้ใหญ่และเด็ก มีพื้นที่ 200
ตารางเมตร และ 50 ตารางเมตรตามลาดับ จงหาว่ารัศมีของลานกีฬา
สาหรับผู้ใหญ่ยาวกว่ารัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็กกี่เมตร
วิธีทา ให้รัศมีของลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่เป็น r1 เมตร
และรัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็กเป็น r2
จากสูตรการหาพื้นที่ชองวงกลมซึ่งเท่ากับ r 2
และพื้นที่ของลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่เท่ากับ 200 ตารางเมตร
จะได้ r12 = 200
r12 = 200
r1 = 200
r1 = 10 2
ดังนั้น รัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็กเท่ากับ 10 2 เมตร
เนื่องจากพื้นที่ของลานกีฬาสาหรับเด็กเท่ากับ 50 ตารางเมตร
จะได้ r22 = 50
r2 2 = 50
r2 = 50
r2 = 5 2
ดังนั้น รัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็กเท่ากับ 5 2 เมตร
ดังนั้น r1 r2 = 10 2 - 5 2
= 5 2
นั่นคือ รัศมีของลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่ยาวกว่ารัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็ก 5 2 เมตร
ตอบ รัศมีของลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่ยาวกว่ารัศมีของลานกีฬาสาหรับเด็ก 5 2 เมตร
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.3 ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้ดังนี้
A2 B2 ( A B)( A B) เมื่อ A และ B เป็นพหุนาม
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลต่างกาลังสอง
สามารถใช้สูตรการแยกตัวประกอบได้ดังนี้ A2 B2 ( A B)( A B) หรือ
(พจน์หน้า)2– (พจน์หลัง)2 = (พจน์หน้า – พจน์หลัง)(พจน์หน้า + พจน์หลัง)
ตัวอย่าง 1) x 4 = ( x 2)( x 2)
2
2) x2 9 = ( x 3)( x 3)
2. ครูทบทวน สมบัติบางประการของจานวนจริง ดังนี้
( a )2 a เมื่อ a 0
กิจกรรมพัฒนา
3. ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของ x2 2
วิธีทา x2 2 = x2 ( 2)2
= ( x 2)( x 2)
ดังนั้น x2 2 = ( x 2)( x 2)
1 2
ตัวอย่าง 2 จงแยกตัวประกอบของ x 5
4
2
1 2 1 2
วิธีทา x 5 = x 5
4 2
1 1
= x 5 x 5
2 2
1 2 1 1
ดังนั้น x 5 = x 5 x 5
4 2 2
= 2 2 x 3 2 2 x 3
ดังนั้น 8 ( x 3)2 = 2 2 x 3 2 2 x 3
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.1 ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และใบงานที่ 1
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ดังนี้
A2 2 AB B2 ( A B)2
A2 2 AB B2 ( A B)2
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
สามารถใช้สูตรการแยกตัวประกอบได้ดังนี้
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
3. ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาดังนี้
นักเรียนสามมารถแยกตัวประกอบของ x2 6 x 5 ได้ดังนี้
x2 6 x 5 = ( x 5)( x 1)
เนื่ อ งจาก x2 2ax a2 ( x a)2 ดั ง นั้ น เมื่ อ ต้ อ งการเขี ย น x2 6 x ให้ มี
บางส่วนเป็นกาลังสองสมบูรณ์ จะต้องจัดเป็น x2 6 x x2 2(3) x จากนั้นเพิ่มพจน์ 33 เข้าไป
และเพื่อให้ได้พจน์เท่าเดิม ก็หักออกด้วยพจน์ 33 ดังนี้
x2 6 x = x 2 2(3) x 32 32
= ( x 3)2 32
ดังนั้น แยกตัวประกอบของ x2 6 x 5 ได้ดังนี้
x2 6 x 5 = x 2 2(3) x 32 32 5
= ( x 3)2 9 5
= ( x 3)2 4
= ( x 3)2 22
= ( x 3) 2( x 3) 2
= ( x 5)( x 1)
การแยกตัวประกอบด้วยวิธีข้างต้นนี้เรียกว่า วิธีกาลังสองสมบูรณ์
การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสองสมบูรณ์ ใช้แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองบางพหุ
นามที่ไม่สามารถแยกได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม x2 10 x 6 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
วิธีทา x2 10 x 6 = x 2 2(5) x 6
= x2 2(5) x 52 52 6
= ( x 5)2 25 6
= ( x 5)2 19
= ( x 5)2 ( 19)2
= ( x 5) 19 ( x 5) 19
= x 5 19 x 5 19
ดังนั้น x2 10 x 6 = x 5 19 x 5 19
ตัวอย่าง 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม x2 6 x 2 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
วิธีทา x2 6 x 2 = x 2 2(3) x 2
= x2 2(3) x 32 32 2
= ( x 3)2 9 2
= ( x 3)2 7
= ( x 3)2 ( 7)2
= ( x 3) 7 ( x 3) 7
= x 3 7 x 3 7
ดังนั้น x2 10 x 6 = x 3 7 x 3 7
ชั่วโมงที่ 2
1.ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนร่วมกันหาคาตอบ
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม x2 7 x 6 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
7
วิธีทา x2 7 x 6 = x2 2 x 6
2
2 7 7 7
2 2
= x 2 x 6
2 2 2
2
7 49
= x 6
2 4
2
7 73
= x
2 4
2
7 73
2
= x
2 2
7 73 7 73
= x x
2 2 2 2
7 73 7 73
= x x
2 2 2 2
7 73 7 73
= x x
2 2
7 73 7 73
ดังนั้น x2 10 x 6 = x x
2 2
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.2 ก ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 2
8.ให้นักเรียนทาใบงานที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ดังนี้
A2 2 AB B2 ( A B)2
A2 2 AB B2 ( A B)2
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์โดย
การยกตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ครูอธิบายว่า ในการแยกตัวประกอบของพหุนาม ax2 bx c เมื่อ a 1 ทา
ได้โดยวิธีกาลังสองสมบูรณ์ สาหรับในกรณีที่ a 0 และ a 1 เราสามารถใช้วิธีนี้ในการแยกตัว
ประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจงทาให้สัมประสิทธิ์ของ x 2 ให้เป็น 1 ก่อน ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 3x2 8x 35
8 35
วิธีทา 3x2 8x 35 = 3 x2 x
3 3
8 35
= 3 x 2 x
3 3
2 4 4 4 35
2 2
= 3 x 2 x
3 3 3 3
2
16 35
= 3 x 4
3 9 3
4 16 35
2
= 3 x
3 9 3
4 16 105
2
= 3 x
3 9
4 16 105
2
= 3 x
3 9
4 121
2
= 3 x
3 9
4 11
2 2
= 3 x
3 3
4 11 4 11
= 3 x x
3 3 3 3
4 11 4 11
= 3 x x
3 3 3 3
7
= 3 x x 5 หรือ (3x 7)( x 5)
3
7
ดังนั้น 3x2 8x 35 = 3 x x 5 หรือ (3x 7)( x 5)
3
ตัวอย่าง 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 2 x2 4 x 1
1
วิธีทา 2 x2 4 x 1 = 2 x2 2 x
2
1
= 2 ( x 2 2 x)
2
1
=
2 x 2 2(1) x 1 1
2
1
= 2 ( x 1)2
2
1
2
= 2 ( x 1)
2
2
1 1
= 2 ( x 1) ( x 1)
2 2
1 1
= 2x 1 x 1
2 2
1 1
ดังนั้น 2 x2 4 x 1 = 2x 1 x 1
2 2
ชั่วโมงที่ 2
1.ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนร่วมกันหาคาตอบ
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของ 4x2 8x 20
วิธีทา 4x2 8x 20 = 4 x2 2 x 5
= 4 ( x2 2 x) 5
=
4 x 2 2(1) x 1 1 5
= 4 ( x 1) 6 ( x 1) 6
= 4( x 1 6)( x 1 6)
ดังนั้น 4x2 8x 20 = 4( x 1 6)( x 1 6)
2. ครูยกตัวอย่างที่มีลักษณะเดียวกันนี้อีก 1 ตัวอย่าง ให้นักเรียนร่วมกันหาคาตอบ
กิจกรรมรวบยอด
5. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.2 ข ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 4 และใบงานที่ 5
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็น
จานวนเต็มได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามผลบวกกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปญ ั หา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ และ
ผลต่างกาลังสองโดยการยกตัวอย่างให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบ 2-3 ตัวอย่าง
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ให้นักเรียนพิจารณาการหาผลคูณของพหุนามแต่ละข้อต่อไปนี้
1. ( x 5)( x2 5x 25) = x3 5x2 25x 5x2 25x 125
= x3 125
= x3 53
2. (2 x 3)(4 x2 6 x 9) = 8x3 12x2 18x 12x2 18x 27
= 8x3 27
= (2 x)3 33
ครูอธิบายให้นักเรียนว่า เรียก พหุนาม x3 53 และ (2 x)3 33 ว่า ผลบวกของกาลังสาม
จากผลคูณของพหุนามจะเห็นว่า
1. x3 53 = ( x 5)( x2 5x 25)
2. (2 x)3 33 = (2 x 3)(4x2 6x 9)
3. ให้นักเรียนพิจารณา x3 53 = ( x 5)( x2 5x 25)
หรือ x3 53 = ( x 5)( x2 ( x)(5) 25)
และพิจารณา (2 x)3 33 = (2 x 3)(4 x2 6 x 9)
หรือ (2 x)3 33 = (2 x 3) (2 x)2 (2 x)(3) 32
จะเห็นได้ว่า A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
4. ครูยกตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ x3 1
วิธีทา x3 1 = x3 1
= ( x 1) x2 ( x)(1) 12
= ( x 1)( x2 x 1 )
ดังนั้น x3 1 = ( x 1)( x2 x 1 )
ชั่วโมงที่ 2
5. ครูยกตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 27 x3 64
วิธีทา 27 x3 64 = (3x)3 43
= (3x 4) (3x)2 (3x)(4) 42
= (3x 4)(9x2 12x 16)
ดังนั้น 27 x3 64 = (3x 4)(9x2 12x 16)
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ (2 x 1)3 ( x 3)3
วิธีทา (2 x 1)3 ( x 3)3 = (2 x 1) ( x 3) (2 x 1)2 (2 x 1)( x 3) ( x 3)2
= (2x 1 x 3) (4x2 4x 1) (2x2 6x x 3) (x2 6x 9)
= (3x 2)(4x2 4x 1 2x2 5x 3 x2 6x 9)
= (3x 2)(3x2 3x 13)
ดังนั้น (2 x 1)3 ( x 3)3 = (3x 2)(3x2 3x 13)
กิจกรรมรวบยอด
6. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
7. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.3 ก ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
8. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 6
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์
เป็นจานวนเต็มได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามผลต่างกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ และ
ผลต่างกาลังสองโดยการยกตัวอย่างให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบ 2-3 ตัวอย่าง
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ให้นักเรียนพิจารณาการหาผลคูณของพหุนามแต่ละข้อต่อไปนี้
1. ( x 5)( x2 5x 25) = x3 5x2 25x 5x2 25x 125
= x3 125
= x3 53
2. (2 x 3)(4 x2 6 x 9) = 8x3 12x2 18x 12x2 18x 27
= 8x3 27
= (2 x)3 33
ครูอธิบายให้นักเรียนว่า เรียก พหุนาม x3 53 และ (2 x)3 33 ว่า ผลต่างของกาลังสาม
จากผลคูณของพหุนามจะเห็นว่า
1. x3 53 = ( x 5)( x2 5x 25)
2. (2 x)3 33 = (2 x 3)(4x2 6x 9)
3. ให้นักเรียนพิจารณา x3 53 = ( x 5)( x2 5x 25)
หรือ x3 53 = ( x 5)( x2 ( x)(5) 25)
และพิจารณา (2 x)3 33 = (2 x 3)(4 x2 6 x 9)
หรือ (2 x)3 33 = (2 x 3) (2 x)2 (2 x)(3) 32
จะเห็นได้ว่า A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
4. ครูยก ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ x3 216
วิธีทา x3 216 = x3 63
= ( x 6) x2 ( x)(6) 62
= ( x 6)( x2 6x 36)
ดังนั้น x3 216 = ( x 6)( x2 6x 36)
ชั่วโมงที่ 2
5. ครูยก ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 27 x3 64
วิธีทา 27 x3 64 = (3x)3 43
= (3x 4) (3x)2 (3x)(4) 42
= (3x 4)(9x2 12x 16)
ดังนั้น 27 x3 64 = (3x 4)(9x2 12x 16)
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้วิธีการจัดพหุนามให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
ผลต่างของกาลังสอง ผลบวกของกาลังสาม หรือผลต่างของกาลังสามได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามโดยใช้วิธีการจัดพหุนามให้อยู่ในรูปของกาลังสองสมบูรณ์ ผลต่าง
ของกาลังสอง ผลบวกของกาลังสาม หรือผลต่างของกาลังสาม
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
ผลต่างกาลังสองผลบวกของกาลังสาม และผลต่างของกาลังสามจนได้ข้อสรุปดังนี้
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ดังนี้
A2 2 AB B2 ( A B)2
A2 2 AB B2 ( A B)2
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้ดังนี้
A2 B2 ( A B)( A B)
การแยกตัวประกอบพหุนามผลบวกกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
การแยกตัวประกอบพหุนามผลต่างกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูอธิบายว่า ในการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง บางครั้งทาได้
โดยจัดพหุนามนั้นให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ผลต่างกาลังสอง ผลบวกของกาลังสามหรือผลต่าง
ของกาลังสาม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของ 16 x4 81
วิธีทา 16 x4 81 = (4 x2 )2 92 เพื่อให้ได้ จะต้องมี
= (4 x 9)(4 x 9)
2 2
พจน์ แต่เนื่องจากพจน์
= (4 x 9) (2x) 3
2 2 2
กลางของพหุนาม
= (4x 9)(2x 3)(2x 3)
2
ไม่มีพจน์
ดังนั้น 16 x4 81 = (4 x2 9)(2 x 3)(2 x 3) แต่มีพจน์ จึงต้องเพิ่มอีก
แล้วลบออกด้วย
ตัวอย่าง 2 จงแยกตัวประกอบของ x4 x2 1
วิธีทา x 4 x 2 1 = ( x4 2 x2 1) x2
= ( x2 1)2 x2
= ( x2 1) x ( x2 1) x
= ( x2 1 x)( x2 1 x)
ดังนั้น x4 x2 1 = ( x2 1 x)( x2 1 x)
เพื่อให้ได้ จะต้องมีพจน์
แต่เนื่องจากไม่มีพจน์ อยู่
ในนิพจน์ จึงต้องเพิ่มพจน์
เข้าไป แล้วลบออกด้วย
ตัวอย่าง 3 จงแยกตัวประกอบของ x4 4
วิธีทา x4 4 = ( x2 )2 22
= ( x2 )2 2(2)( x2 ) 22 2(2)x2
= ( x2 2)2 4x2
= ( x2 2)2 (2x)2
= ( x2 2) 2 x ( x2 2) 2 x
= ( x2 2 x 2)( x2 2x 2)
ดังนั้น x4 4 = ( x2 2 x 2)( x2 2x 2)
กิจกรรมรวบยอด
3. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.3ข ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. ทาใบงานที่ 8
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และสมบัติ
การแจกแจง ได้
สาระสาคัญ
การแยกตัวประกอบพหุนามโดยใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และสมบัติการแจก
แจง
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่ที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
ผลต่างกาลังสองผลบวกของกาลังสาม และผลต่างของกาลังสามจนได้ข้อสรุปดังนี้
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ดังนี้
A2 2 AB B2 ( A B)2
A2 2 AB B2 ( A B)2
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้ดังนี้
A2 B2 ( A B)( A B)
การแยกตัวประกอบพหุนามผลบวกกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
การแยกตัวประกอบพหุนามผลต่างกาลังสามได้ดังนี้
A3 B3 ( A B)( A2 AB B2 )
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูอธิบายว่า ในการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง บางครั้งอาจ
ต้องจัดพหุนามใหม่โดยใช้ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่และสมบัติการแจกแจง ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
ตัวอย่าง 1 จงแยกตัวประกอบของ x3 6x2 12x 8
วิธีทา x3 6 x2 12 x 8 = ( x3 8) (6 x2 12 x)
= ( x3 23 ) 6 x( x 2)
= ( x 2)( x2 2x 4) 6x( x 2)
= ( x 2) ( x2 2 x 4) 6x
= ( x 2)( x2 4x 4)
= ( x 2)( x 2)( x 2)
ดังนั้น x3 6x2 12x 8 = ( x 2)( x 2)( x 2)
ตัวอย่าง 2 จงแยกตัวประกอบของ 16 x4 y 2 2 y 1
วิธีทา 16 x4 y 2 2 y 1 = 16 x4 ( y 2 2 y 1)
= 16 x4 ( y 1)2
= (4x2 )2 ( y 1)2
= 4 x2 ( y 1) 4 x2 ( y 1)
= (4 x2 y 1)(4 x2 y 1)
ดังนั้น 16 x4 y 2 2 y 1 = (4 x2 y 1)(4 x2 y 1)
กิจกรรมรวบยอด
3. ครูและนักเรียนสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมง
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.3ค ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจานวนเต็มโดยใช้
ทฤษฎีบทเศษเหลือได้
สาระสาคัญ
ทฤษฎี (ทฤษฎีบทเศษเหลือ)
ถ้าหารพหุนาม P(x) ด้วยพหุนาม ที่ เป็นค่าคงตัว แล้วจะได้เศษเหลือเป็น P( )
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่อง การการหารพหุนาม โดยพิจารณาการหารพหุนาม x2 3x 4
ด้วยพหุนาม x 2 ดังนี้
x 5.........
x 2 x3 3x 4
x2 2 x
.......5 x 4
.......5 x 10
................6
ทฤษฎี (ทฤษฎีบทเศษเหลือ)
ถ้าหารพหุนาม P(x) ด้วยพหุนาม ที่ เป็นค่าคงตัว แล้วจะได้เศษเหลือเป็น P( )
ชั่วโมง 2
3. ครูยกตัวอย่าง ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ได้จากการหาร
x 4 x 11x 30 ด้วย x 3
3 2
= 27 36 33 30
= 0
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ 0
ตอบ 0
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่าเมื่อหาร x3 4x2 11x 30 ด้วย x 3 จะได้เศษเป็น 0
จากความสัมพันธ์ของตัวตั้ง ตัวหาร ผลหาร และเศษที่เหลือ ซึ่งเป็นดังนี้
ตัวตั้ง = (ตัวหาร)(ผลหาร)+เศษเหลือ
จะได้ว่า x3 4x2 11x 30 = ( x 3)( x2 7 x 10)
แต่สามารถแยกตัวประกอบของ x2 7 x 10 ได้เป็น
x2 7 x 10 = ( x 2)( x 5)
นั่นคือ x3 4x2 11x 30 = ( x 3)( x 2)( x 5)
กล่าวได้ว่าในการแยกตัวประกอบของพหุนาม P(x) โดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือต้อง
หา a ที่ทาให้ P(a) = 0 ก่อน
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ x3 x2 8x 12
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 bx c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a 0
โดยใช้การแยกตัวประกอบได้
สาระสาคัญ
สมการกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร มีรูปทั่วไปเป็น ax2 bx c เมื่อ a, b, c
เป็นค่าคงตัว และ a 0 และหาคาตอบของสมการดังกล่าวโดยแยกตัวประกอบของ ax2 bx c
ให้อยู่ในรูปของการคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนาม แล้วใช้สมบัติของจานวนจริงที่กล่าวว่า ถ้า
m, n เป็นจานวนจริงแล้ว mn 0 แล้ว m 0 หรือ n 0
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการหาคาตอบของสมการกาลังสอง เช่น
ax bx c = 0 ทาให้อยู่ในรูป ( px s)(qx t ) = 0 และใช้สมบัติของจานวนจริงที่กล่าวว่า
2
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 bx c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ
a 0 โดยใช้การแยกตัวประกอบได้
สาระสาคัญ
สมการกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร มีรูปทั่วไปเป็น ax2 bx c เมื่อ a, b, c
เป็นค่าคงตัว และ a 0 และหาคาตอบของสมการดังกล่าวโดยแยกตัวประกอบของ ax2 bx c
ให้อยู่ในรูปของการคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนาม แล้วใช้สมบัติของจานวนจริงที่กล่าวว่า ถ้า
m, n เป็นจานวนจริงแล้ว mn 0 แล้ว m 0 หรือ n 0
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. ทางานเป็นระบบ รอบคอบ
3. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ให้นักเรียนพิจารณาการแก้สมการต่อไปนี้
x2 – 25 = 0
(x – 5)(x + 5) = 0
(x – 5) = 0 หรือ (x + 5) = 0
นั่นคือ x = 5 หรือ x = –5
ครูสนทนากับนักเรียนว่าวิธีทาดังกล่าวคือวิธีใด (การแยกตัวประกอบ) และมีวิธีการหา
คาตอบของสมการนี้โดยวิธีอื่นหรือไม่
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนา ครูแนะนานักเรียนว่าอาจแก้สมการโดยใช้สมบัติของรากที่สอง ดังนี้
x2 – 25 = 0
x2 = 25
จะได้ x เป็นรากที่สองของ 25
x = 25 หรือ x = 25
ดังนั้น x = 5 หรือ x = –5
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีการหารากที่สอง ดังนี้
2
ถ้า x = d เมื่อ d 0 แล้ว x = d หรือ x = d ซึ่งคาตอบอาจเขียนได้ดังรูป x = d
4. ครูนาเสนอตัวอย่างที่ 1 ให้นักเรียนช่วยกันทาโดยครูเป็นผู้อธิบายและซักถาม
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ x2 = 27
วิธีทา x2 = 27
x = 27
= 93
x = 3 3
ดังนั้น คาตอบคือ 3 3 และ 3 3
5. ครูยกตัวอย่างโจทย์บนกระดานให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบ เพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจของนักเรียน เช่น
จงแก้สมการ (1) x2 – 16 = 0
(2) x2 – 100 = 0
(3) a2 – 255 = 0
6. ครูยกตัวอย่างการแก้สมการกาลังสองโดยวิธีรากที่สองจากตัวอย่าง แล้ว
อธิบายให้นักเรียนเข้าใจบนกระดาน
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 8x2 = 9
วิธีทา 8x2 = 9
x2 = 9
8
x = 9
8
= 9
8
= 3
2 2
= 3 2
2 2 2
= 3 2
4
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 3 2 และ 3 2
4 4
ให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบโดยวิธีการแทนค่าตัวแปร
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 4 x2 5 = 0
วิธีทา 4 x2 5 = 0
4x 2 = 5
5
x2 =
4
ครูซักถามนักเรียนว่ามีจานวนใดที่ยกกาลังสองแล้วได้จานวนลบหรือไม่ (ไม่มี) จากนั้นครูและ
นักเรียนร่วมกันสรุปว่า เนื่องจากไม่มีจานวนจริงใดที่ยกกาลังสองแล้วได้จานวนลบ ดังนั้น สมการนี้
จึงไม่มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง
กิจกรรมรวบยอด
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
7. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3.1 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 bx c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a 0
โดยวิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
สาระสาคัญ
สมการกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร มีรูปทั่วไปเป็น ax2 bx c เมื่อ a, b, c
เป็นค่าคงตัว และ a 0 และหาคาตอบของสมการดังกล่าวโดย วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ทบทวนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
เช่น x 6 x 9
2
= ( x 3)2
4 x2 12 x 9 = (2 x 3)2
x2 2ax a 2 = ( x a)2
x2 2ax a 2 = ( x a)2
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ ๑
2. ให้นักเรียนพิจารณาการแก้สมการ ax2 bx c ในกรณีที่ a 1 ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ x2 4 x 2 0
วิธีทา x2 4 x 2 = 0
x 2 2(2) x 22 22 2 = 0
( x 2)2 4 2 = 0
( x 2)2 6 = 0
( x 2)2 ( 6)2 = 0
( x 2 6)( x 2 6) = 0
ดังนั้น ( x 2 6) = 0 หรือ ( x 2 6) = 0
จะได้ x = 2 6 หรือ x = 2 6 (ให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบที่ได้)
ดังนั้น คาตอบคือ 2 6 และ 2 6
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ x2 2 2 x 2 = 0
วิธีทา x2 2 2 x 2 = 0
x 2 2 2 x ( 2)2 ( 2)2 2 = 0
( x 2)2 2 2 = 0
( x 2)2 = 0
ดังนั้น x 2 = 0
x = 2 (ให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบที่ได้)
ดังนั้น คาตอบคือ 2
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ x2 x 1 0
วิธีทา x2 x 1 = 0
2 1 1 1
2 2
x 2 x 1
= 0
2 2 2
2
1 1
x 1 = 0
2 4
2
1 3
x = 0
2 4
2
1 3
x =
2 4
2
1
เนื่องจาก x 0 สาหรับทุกค่าของ x
2
2
1 3
แสดงว่าไม่มีค่า x ที่ทาให้สมการ x = 0 เป็นจริง
2 4
นั่นคือ สมการ x2 x 1 0 ไม่มีคาตอบ
ตอบ ไม่มีคาตอบ
ชั่วโมงที่ 2
3. ให้นักเรียนพิจารณาการแก้สมการ ax2 bx c ในกรณีที่ a 1 และ a 0 ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2x2 – 10x + 1 = 0
วิธีทา 2x2 – 10x + 1 = 0
x2 – 5x + 1 = 0
2
2 2
จะได้ x2 – 5x + 5 = 1 5
2 2 2
5 2 1 25
x =
2 2 4
5 2 23
x =
2 4
x 5 = 23
2 4
x = 5 23
2 4
= 5 23
2
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 5 23 และ 5 23
2 2
(ให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบคาตอบ)
4.ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด ในห้องเรียนโดยครูดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3.2ก ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 bx c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a0
b b 2 4ac
โดยวิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์หรือใช้สูตร x
2a
สาระสาคัญ
สมการกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร มีรูปทั่วไปเป็น ax2 bx c เมื่อ a, b, c
เป็นค่าคงตัว และ a 0 และหาคาตอบของสมการดังกล่าวโดย วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์หรือใช้
b b 2 4ac
สูตร x
2a
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ทบทวนรูปทั่วไปของสมการกาลังสองคือ ax2 bx c = 0 , a 0 และ
a, b, c เป็นจานวนจริง
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ให้นักเรียนพิจารณาการหาคาตอบสาหรับกรณีทั่วๆไปของสมการ ax2 bx c
เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a 0 โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับกาลังสองสมบูรณ์และผลต่างของกาลัง
สองดังต่อไปนี้
ax bx c = 0
2
นา a มาหารทั้งสองข้างของสมการ
b c
x2 x = 0
a a
2 a b b c
2 2
x x = 0
b 2a 2a a
b b 2 4ac
2
x = 0 ……………(1)
2a 4a 2
เนื่องจาก b2 4ac เป็นจานวนจริง ดังนั้น b2 4ac 0 หรือ b2 4ac 0
ถ้า b2 4ac 0
จะได้ b2 4ac เป็นจานวนจริง และ ( b2 4ac )2 = b2 4ac
จากสมการ (1) จะได้
2
b b 2 4ac
2
x = 0
2a 2a
b b2 4ac b b 2 4ac
x x = 0
2a 2a 2a 2a
b b 2 4ac b b 2 4ac
ดังนั้น x = 0 หรือ x = 0
2a 2a 2a 2a
b b 2 4ac b b 2 4ac
จะได้ x หรือ x
2a 2a
b b 2 4ac b b 2 4ac
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ และ
2a 2a
อาจเขียนเป็นสูตรเพื่อหาคาตอบของสมการได้ดังนี้
b b 2 4ac
x
2a
ถ้า b2 4ac 0
จากสมการ (1) จะได้
b 2 4ac
2
b
x = ……………………(2)
2a 4a 2
เนื่องจาก b2 4ac 0 และ 4a 2 0 สาหรับทุกค่าของ a เมื่อ a0
b 2 4ac
ดังนั้น 0
4a 2
เนื่องจากจานวนจริงใดๆ ยกกาลังสองแล้วจะต้องเป็นจานวนจริงบวกหรือศูนย์
ดังนั้น ไม่มีจานวนจริงใดที่นามาแทน x ในสมการ (2) แล้วทาให้ได้สมการที่เป็นจริง
นั่นคือ สมการ ax2 bx c 0 จะไม่มีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง
ข้อสรุปเกี่ยวกับคาตอบของสมการกาลังสอง
สมการกาลังสอง เมื่อ เป็นค่าคงตัว และ
ถ้า แล้วจะมีคาตอบของสมการเป็นจานวนจริง
ถ้า แล้วจะไม่มีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง
ชั่วโมงที่ 2
3. ให้นักเรียนพิจารณาการหาคาตอบที่เป็นจานวนจริงของสมการนั้นมีสองคาตอบ
หรือหนึ่งคาตอบทาได้โดยพิจารณาจาก b2 4ac ดังนี้
กรณีที่ 1 ถ้า b2 4ac 0
จะได้ b2 4ac และ b2 4ac เป็นจานวนจริงที่ต่างกัน
b b 2 4ac
จากสูตร x จะได้คาตอบของสมการ ax2 bx c 0
2a
b b 2 4ac b b 2 4ac
เป็นสองคาตอบคือ และ ดังตัวอย่าง
2a 2a
ตัวอย่าง กาหนดสมการ 24x2 74x 55 0
ในที่นี้ a = 24 b = -74 และ c = 55
จะได้ b2 4ac = (74)2 4(24)(55)
= 196
(74) 196
ดังนั้น x =
2(24)
74 14
=
48
74 14 74 14
x = หรือ x =
48 48
จะได้ x = 11 หรือ x = 5
6 4
11 5
นั่นคือ และ เป็นคาตอบของสมการ 24 x2 74 x 55 0
6 4
กรณีที่ 2 ถ้า b2 4ac 0
จะได้ b2 4ac 0
b b 2 4ac
จากสูตร x
2a
b 0
2a
b
นั่นคือ x
2a
b
คาตอบของสมการ จึงมีเพียงคาตอบเดียวคือ ดังตัวอย่าง
2a
ตัวอย่าง ตัวอย่าง กาหนดสมการ 9t 2 30t 25 0
ในที่นี้ a = 9 b = -30 และ c = 25
จะได้ b2 4ac = (30)2 4(9)(25)
= 0
(30) 0
ดังนั้น t =
2(9)
(30)
=
18
จะได้ t = 5
3
5
นั่นคือ เป็นคาตอบของสมการ 9t 2 30t 25 0
3
กรณีที่สมการกาลังสอง ax2 bx c 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a0 และ
b2 4ac 0 ซึ่งไม่มีคาตอบของสมการที่เป็นจานวนจริง ดังนี้
ตัวอย่าง กาหนดสมการ 2x2 3x 2 0
ในที่นี้ a = 2 b = -3 และ c = 2
จะได้ b2 4ac = (3)2 4(2)(2)
= 9 16
= 7
ดังนั้น ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบของสมการ 2x2 3x 2 0
4.ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3.2 ข ข้อ 1 ในห้องเรียนโดยครูดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3.2ข ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. นาเสนอตัวอย่าง เพื่อแสดงตัวอย่างการแก้สมการโดยใช้สูตรของกาลังสอง
จงแก้สมการ 2x2 – 10x + 1 = 0 โดยใช้สูตรของกาลังสอง
วิธีทา 2x2 – 10x + 1 = 0
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสองตัวแปรเดียวได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสอง
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ทบทวนขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สมการกาลังสอง และทบทวนการแก้
สมการกาลังสองด้วยวิธีต่างๆ โดยยกตัวอย่างและสุ่มให้นักเรียนออกมาทาดังนี้
ตัวอย่าง จงแก้สมการต่อไปนี้
1. x2 11 9
2. x2 9x 18 0
3. x2 4 x 2
4. 16x2 24 x 9 0
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ครูนาเสนอตัวอย่าง เพื่อแสดงตัวอย่างการแก้ปัญหาสมการ ดังนี้
ตัวอย่าง1 จานวนสองจานวนรวมกันเท่ากับ 22 และกาลังสองของแต่ละจานวนรวมกันเท่ากับ 274
จงหา จานวนทั้งสองนั้น
วิธีทา ให้ x แทนจานวนจานวนหนึ่ง
อีกจานวนหนึ่งคือ 22 – x
กาลังสองของแต่ละจานวนรวมกันเท่ากับ 274
จะได้สมการเป็น x2 (22 x)2 = 274
x2 484 44 x x2 = 274
2 x2 44 x 210 = 0
x2 22 x 105 = 0
ในที่นี้ a = 1 b = -22 และ c = 105
จะได้ b2 4ac = (22)2 4(1)(105)
= 484 420
= 64
b b2 4ac
จากสูตร x =
2a
(22) 64
จะได้ x =
2(1)
22 8
=
2
ดังนั้น x 15 หรือ x 7
ให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบคาตอบ แต่ควรตรวจสอบจากโจทย์ ไม่ควรตรวจสอบจาก
สมการ เพราะนักเรียนอาจเขียนสมการผิด
ชั่วโมงที่ 2
3. ครูนาเสนอตัวอย่าง เพื่อแสดงตัวอย่างการแก้ปัญหาสมการ ดังนี้
ตัวอย่าง1 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าสามเท่าของด้านกว้างอยู่ 5 เซนติเมตร และ
มีพื้นที่ 138 ตารางเซนติเมตร จงหาความยาวของแต่ละด้านของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้
วิธีทา ให้ ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้ยาว x เซนติเมตร
ความยาวของด้านยาวยาวกว่าด้านกว้างสามเท่าของด้านกว้างอยู่ 5 เซนติเมตร
ดังนั้นด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้ยาว 3x + 5 เซนติเมตร
เนื่องจากรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมีพื้นที่ 138 ตารางเซนติเมตร
จะได้สมการเป็น x(3x 5) = 138
3x 2 5x = 138
3x2 5x 138 = 0
ในที่นี้ a = 3 b = 5 และ c = -138
จะได้ b2 4ac = (5)2 4(3)(138)
= 25 1656
= 1681
b b2 4ac
จากสูตร x =
2a
(5) 1681
จะได้ x =
2(3)
5 41
=
6
46
ดังนั้น x6 หรือ x
6
ตรวจสอบ เนื่องจาก x แทน ความยาวด้านของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะต้องเป็นจานวนจริงบวก
46
ดังนั้น จึงไม่ใช่ความยาวด้าน
6
ถ้าให้ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยาว 6 เซนติเมตร
จะได้ด้านยาว ยาว (3 6) 5 = 23 เซนติเมตร
นั่นคือ ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยาว 6 เซนติเมตร และด้านยาวยาว 23
เซนติเมตร
ตอบ 6 เซนติเมตร และ 23 เซนติเมตร
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
ชั่วโมงที่ 3
5. ครูนาเสนอตัวอย่าง เพื่อแสดงตัวอย่างการแก้ปัญหาสมการ ดังนี้
ตัวอย่าง1 สโมสรแห่งหนึ่งต้องการสร้างสระน้ารูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 25
เมตร และให้มีทางเดินรอบสระว่ายน้าซึ่งปูด้วยกระเบื้องทางเดินมีความกว้างเท่ากันตลอด
ถ้าบริเวณที่จะสร้างสระว่ายน้ารวมทางเดินมีพื้นที่ 434 ตารางเมตร จงหาว่าทางเดินรอบ
สระว่ายน้ากว้างเท่าไร
วิธีทา ให้ ทางเดินรอบสระว่ายน้ากว้าง x เมตร
ความกว้างของที่ดินเป็น 8 + 2x เมตร
ความยาวของที่ดินเป็น 25 + 2x เมตร
ทีด่ ินมีพื้นที่ 434 ตารางเมตร
จะได้สมการเป็น (8 2x)(25 2x) = 434
(4 x)(25 2x) = 217
117 33x 2 x2 = 0
ในที่นี้ a = 2 b = 33 และ c = 117
จะได้ b2 4ac = (33)2 4(2)(117)
= 1089 936
= 2025
b b 2 4ac
จากสูตร x =
2a
33 2025
จะได้ x =
2(2)
33 45
=
4
39
ดังนั้น x3 หรือ x
2
ตรวจสอบ เนื่องจาก x แทน ความกว้างของทางเดินรอบสระน้าซึ่งจะต้องเป็นจานวนจริงบวก
39
ดังนั้น จึงไม่ใช่ความยาวกว้าง
2
ถ้าให้ทางเดินรอบสระว่ายน้ากว้าง 3 เมตร
ความกว้างของที่ดินเป็น 8 (2 3) = 14 เมตร
ความยาวของที่ดินเป็น 25 (2 3) = 31 เมตร
นั่นคือ ทางเดินรอบสระว่ายน้ากว้าง 3 เมตร
ตอบ 3 เมตร
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรมรวบยอด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
8. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 3.3 ในหนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
บอกได้ว่าสมการที่กาหนดให้เป็นหรือไม่เป็นสมการของพาราโบลา
สาระสาคัญ
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูสนทนาให้นักเรียนสังเกตสิ่งแวดล้อมและสิ่งก่อสร้างรอบตัวที่มีลักษณะเป็น
พาราโบลา เช่น สายเคเบิ้ลที่ขึงโยงสะพานแขวน สายน้าพุที่พุ่งขึ้นในช่วงเวลาต่าง ๆ ดังรูป
4. จากกราฟของความสัมพันธ์ข้างต้น ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาถึงลักษณะของกราฟทั้ง
สองตัวอย่างจนได้ข้อสรุปว่า
ลักษณะของกราฟในตัวอย่างที่ 1 เป็น พาราโบลาหงาย และลักษณะกราฟในตัวอย่างที่ 2
เป็นพาราโบลาคว่า ซึ่งสมการในตัวอย่างที่ 1 และ ตัวอย่างที่ 2 เป็นตัวอย่างของสมการของ
พาราโบลา
สมการ เมื่อ เป็นตัวแปร เป็นค่า
คงตัว และ เรียกว่า สมการพาราโบลา
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 1
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ
y ax 2 เมื่อ a 0 ได้
3. บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y ax2 เมื่อ a 0 ได้
4. บอกลักษณะของกราฟของสมการ y ax2 เมื่อ a > 0
สาระสาคัญ
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ เมื่อ ดังนี้
1.กราฟเป็นพาราโบลาหงายที่มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร
2.จุด (0,0) เป็นจุดต่าสุดของกราฟที่ค่าต่าสุดของ y เป็น 0 และไม่มีจุดสูงสุด
3.กราฟจะบานน้อยหรือบานมากขึ้นอยู่กับค่า a กล่าวคือ ถ้าค่า a มีค่าน้อยกราฟจะบานมากแต่ถ้า
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า จากสมการของพาราโบลา y ax2 bx c เมื่อ
กาหนดให้ a 0, b 0, c 0 จะได้ y ax2 เราจะพิจารณากรณี a 0 และ a 0 ต่อไปนี้
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนาเข้าสู่บทเรียน จะได้ว่า
กรณี a 0 จะแยกพิจารณาเป็น 2 กรณี คือ เมื่อ a 1 และเมื่อ a 1
กรณีที่ 1 เมื่อ a 1 สมการ y ax2 จะเป็น y x2
เขียนกราฟของสมการ y x2 โดยกาหนดค่า x และ y จากสมการ y x2 จะได้ดังในตาราง
x –3 –2 –1 0 1 2 3
2
y=x 9 4 1 0 1 4 9
1 2
กรณีที่ 2 เมื่อ a 1 ให้นักเรียนพิจารณาสมการ y 2 x2 และ y x
2
โดยกาหนดค่า x และ y ในแต่ละสมการ จะได้ดังในตาราง
x –3 –2 –1 0 1 2 3
2
y = 2x 18 8 2 0 2 8 18
1 2 1 1 1 1
y x 4 2 0 2 4
2 2 2 2 2
3.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกตจากการ
เขียนกราฟว่าอย่างไร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึ งข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟทั้งสองกรณี
เป็น ดังนี้
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y ax2
เมื่อ a 0 ได้
3. บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y ax2 เมื่อ a 0 ได้
4. บอกความแตกต่างของกราฟของสมการ y ax2 เมื่อ a > 0 และ a < 0 ได้
สาระสาคัญ
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ y ax2 เมื่อ a 0 ดังนี้
1. กราฟเป็นพาราโบลาคว่าที่มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร
2. จุด (0,0) เป็นจุดสูงสุดของกราฟที่ค่าสูงสุดของ y เป็น 0 และไม่มีจุดต่าสุด
3. กราฟจะบานน้อยหรือบานมากขึ้นอยู่กับค่า a กล่าวคือ ถ้าค่า a มีค่าน้อยกราฟจะบาน
น้อยแต่ถ้า a มีค่ามาก กราฟจะบานมาก
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. ทางานเป็นระบบ รอบคอบ
3. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า จากสมการของพาราโบลา y ax2 bx c เมื่อ
กาหนดให้ a 0, b 0, c 0 จะได้ y ax2 เราจะพิจารณากรณี a 0 และ a 0 ต่อไปนี้
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนาเข้าสู่บทเรียน จะได้ว่า
กรณี a 0 จะแยกพิจารณาเป็น 2 กรณี คือ เมื่อ a 1 และเมื่อ a 1
กรณีที่ 1 เมื่อ a 1 สมการ y ax2 จะเป็น y x2
เขียนกราฟของสมการ y x2 โดยกาหนดค่า x และ y จากสมการ y x2 จะได้ดัง
ในตาราง
x –3 –2 –1 0 1 2 3
2
y = -x -9 -4 -1 0 -1 -4 -9
3.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกตจากการ
เขียนกราฟว่าอย่างไร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟ ดังนี้
จากกราฟของสมการ y =- x2 มีลักษณะเป็นพาราโบลาคว่าที่เป็นรูปสมมาตร โดยมีแกน Y เป็น
แกนสมมาตร และมีจุดต่าสุดอยู่ที่ (0, 0)
5. ครูเขียนโจทย์บนกระดานให้นักเรียนเขียนกราฟของพาราโบลาเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
กรณีที่ 2 เมื่อ a 1
1
ให้นักเรียนพิจารณาสมการ y 2 x 2 และ y x2 โดยกาหนดค่า x และ y ในแต่ละ
2
สมการ จะได้ดังในตาราง
x –3 –2 –1 0 1 2 3
y = -2x2 -18 -8 -2 0 -2 -8 -18
1 1 1 1 1
y x2 4 -2 0 -2 4
2 2 2 2 2
6.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกตจากการ
เขียนกราฟว่าอย่างไร
7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟทั้งสองกรณีเป็น ดังนี้
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y ax2 k เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y ax2 k
เมื่อ a 0 ได้
3. บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y ax2 k เมื่อ a 0 ได้
สาระสาคัญ
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.กราฟเป็นกราฟพาราโบลาหงายที่มีแกน X เป็นแกนสมมาตร
2.จัด (0, k )เป็นจุดต่าสุดของกราฟ จุดนี้อยู่เหนือแกน X เมื่อ k > 0และอยู่ให้แกน X เมื่อ k < 0 ค่าต่าสุด
ของ y เท่ากับ k
3.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ ตาม
แนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เป็นระยะ k หน่วย เมื่อ k > 0 และลงมาใต้แกน X เป็นระยะ หน่วย
เมื่อ k < 0
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า จากสมการของพาราโบลา y ax2 เมื่อ a 0
ถ้า k = 0 จะได้สมการ y ax2 จากสมการของพาราโบลาเราจะพิจารณากรณี a 0 และ a 0
ต่อไปนี้
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนาเข้าสู่บทเรียน จะได้ว่า
กรณี a 0 ให้นักเรียนพิจารณา y 2 x2 , y 2 x2 2 และ y 2 x2 2
โดยกาหนดค่า x และ y ในแต่ละสมการ จะได้ดังในตาราง
x –2 –1 0 1 2
y 2x 2
8 2 0 2 8
y 2 x 2 10
2
4 2 4 10
y 2x 2
2
6 0 -2 0 6
3.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกต
จากการเขียนกราฟว่าอย่างไร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟ ดังนี้
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.กราฟเป็นกราฟพาราโบลาหงายที่มีแกน X เป็นแกนสมมาตร
2.จัด (0, k )เป็นจุดต่าสุดของกราฟ จุดนี้อยู่เหนือแกน X เมื่อ k > 0และอยู่ให้แกน X เมื่อ k < 0 ค่า
ต่าสุดของ y เท่ากับ k
3.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เป็นระยะ k หน่วย เมื่อ k > 0 และลงมาใต้แกน X เป็นระยะ
หน่วย เมื่อ k < 0
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.กราฟเป็นกราฟพาราโบลาคว่าที่มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร
2.จัด (0, k )เป็นจุดสูงสุดของกราฟ จุดนี้อยู่เหนือแกน X เมื่อ k > 0และอยู่ให้แกน X เมื่อ k < 0
ค่าสูงสุดของ y เท่ากับ k
3.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน Y ขึ้นไปเหนือแกน X เป็นระยะ k หน่วย เมื่อ k > 0 และลงมาใต้แกน X เป็นระยะ
หน่วย เมื่อ k < 0
กิจกรรมรวบยอด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้
เราสามารถนาความรู้เกี่ยวกับกราฟของสมการ มาสรุปเป็นขั้นตอนในการ
เขียนกราฟดังนี้
1.พิจารณาว่าเป็นพาราโบลาหงายหรือพาราโบลาคว่าโดยดูจากค่า a ในสมการ ซึ่งจะ
เป็นพาราโบลาหงาย เมื่อ a > 0 และจะเป็นพาราโบลาคว่า เมื่อ a < 0
2.หาจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ ซึ่งได้แก่จุด ( 0, k )
3.หาแกนสมมาตร ซึ่งได้แก่ แกน Y
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y ax2 k เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y a( x h)2 k
เมื่อ a 0 ได้
3. บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y a( x h)2 k เมื่อ a 0 ได้
สาระสาคัญ
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.ถ้า a > 0 กราฟเป็นพาราโบลาหงายที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
2.ถ้า a < 0 กราฟเป็นพาราโบลาคว่าที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
3.จุด (h,0) เป็นจุดต่าหรือสูงสุดของกราฟ จุดนี้จะอยู่ทางขวาของแกน Y เมื่อ h > 0 และอยู่ทางซ้าย
ของแกน Y เมื่อ h < 0 ค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุดของ y เป็น 0
3.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน X ไปทางขวา h หน่วย X เมื่อ และ ไปทางซ้าย หน่วย เมื่อ
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายว่า จากหัวข้อที่ผ่านมา เรียนเรื่องพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ
y ax 2 เมื่อ a 0 ซึ่ง ในชั่วโมงนี้จะศึกษาเกี่ยวกับพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ
y a( x h)2 k เมื่อ a 0 ถ้า k = 0 และ h = 0 จะได้สมการ y ax 2 นั่นเอง
จากสมการของพาราโบลา y a( x h)2 k เราจะพิจารณากราฟของสมการ
y a( x h)2 k เมื่อ a 0 และ h 0
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนาเข้าสู่บทเรียน จะได้ว่า
กรณี k = 0 และ h 0 จากสมการ y a( x h)2 k จะได้ y a( x h)2
ให้นักเรียนพิจารณาสมการ y 2 x2 , y 2( x 1)2 และ y 2( x 1)2
เมื่อกาหนดค่า x และหาค่า y ในแต่ละสมการ จะได้ดังตาราง
x –2 –1 0 1 2
2
y = 2x 8 2 0 2 8
y 2( x 1) 2
18 8 2 0 2
y 2( x 1) 2
2 0 2 8 18
3.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกตจากการ
เขียนกราฟว่าอย่างไร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟเป็น ดังนี้
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.ถ้า a > 0 กราฟเป็นพาราโบลาหงายที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
2.ถ้า a < 0 กราฟเป็นพาราโบลาคว่าที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
3.จุด (h,0) เป็นจุดต่าหรือสูงสุดของกราฟ จุดนี้จะอยู่ทางขวาของแกน Y เมื่อ h > 0 และอยู่ทางซ้าย
ของแกน Y เมื่อ h < 0 ค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุดของ y เป็น 0
3.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน X ไปทางขวา h หน่วย X เมื่อ และ ไปทางซ้าย หน่วย เมื่อ
กิจกรรมรวบยอด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้ ได้ดังนี้
8. ให้ นั ก เรี ย นทาแบบฝึ กหั ด 4.4 ก ในหนัง สื อเรี ยนวิ ช าคณิต ศาสตร์เ พิ่ มเติ ม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y ax2 k เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y a( x h)2 k
เมื่อ a 0 ได้
3. นักเรียนสามารถบอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y a( x h)2 k
เมื่อ a 0 ได้
สาระสาคัญ
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.ถ้า a > 0 กราฟเป็นพาราโบลาหงายที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
2.ถ้า a < 0 กราฟเป็นพาราโบลาคว่าที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
3.จุด (h,k) เป็นจุดต่าหรือสูงสุดของกราฟค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุดของ y เท่ากับ k
4.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน Yขึ้นไปเหนือแกน X เป็นระยะ k หน่วย เมื่อ k > 0 และลงมาใต้แกน
X เป็นระยะ หน่วย เมื่อ
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายว่า จากหัวข้อที่ผ่านมา เรียนเรื่องพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ
y ax 2 เมื่อ a 0 ซึ่ง ในชั่วโมงนี้จะศึกษาเกี่ยวกับพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ
y a( x h)2 k เมื่อ a 0
ถ้า k = 0 และ h = 0 จะได้สมการ y ax2 นั่นเอง จากสมการของพาราโบลา
y a( x h)2 k เราจะพิจารณากราฟของสมการ y a( x h)2 k เมื่อ a 0 และ
h0
กิจกรรมพัฒนา
2. จากขั้นนาเข้าสู่บทเรียน จะได้ว่า
กรณี k 0 และ h 0 จากสมการ y a( x h)2 k จะได้ y a( x h)2 k
ให้นักเรียนพิจารณาสมการ y 2( x 1)2 , y 2( x 1)2 2 และ y 2( x 1)2 2
เมื่อกาหนดค่า x และหาค่า y ในแต่ละสมการ จะได้ดังตาราง
x –2 –1 0 1 2
y 2( x 1)2 8 2 0 2 8
y 2( x 1) 2 10
2
4 2 4 10
y 2( x 1) 2 6
2
0 -2 0 6
3.ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่ากราฟที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร และได้ข้อสังเกต
จากการเขียนกราฟว่าอย่างไร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงข้อสรุปที่ได้จากการเขียนกราฟเป็น ดังนี้
คาตอบที่ได้เป็นไปตามลักษณะทั่วไปของกราฟของสมการ ดังนี้
1.ถ้า a > 0 กราฟเป็นพาราโบลาหงายที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
2.ถ้า a < 0 กราฟเป็นพาราโบลาคว่าที่มีเส้นตรง x = h เป็นแกนสมมาตร
3.จุด (h,k) เป็นจุดต่าหรือสูงสุดของกราฟค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุดของ y เท่ากับ k
4.กราฟของสมการ เป็นกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานของกราฟของสมการ
ตามแนวแกน Yขึ้นไปเหนือแกน X เป็นระยะ k หน่วย เมื่อ k > 0 และลงมาใต้แกน
X เป็นระยะ หน่วย เมื่อ
กิจกรรมรวบยอด
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนในชั่วโมงนี้ ได้ดังนี้
เราสามารถนาความรู้เกี่ยวกับกราฟของสมการ มาสรุปเป็นขั้นตอนใน
การเขียนกราฟดังนี้
1.พิจารณาว่าเป็นพาราโบลาหงายหรือพาราโบลาคว่าโดยดูจากค่า a ในสมการ
ซึ่งจะเป็นพาราโบลาหงาย เมื่อ a > 0 และจะเป็นพาราโบลาคว่า เมื่อ a < 0
2.หาจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุดของกราฟ ซึ่งได้แก่จุด ( h, k )
3.หาแกนสมมาตร ซึ่งได้แก่ เส้นตรง x = h
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. เขียนกราฟของพาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y ax2 bx c เมื่อ a เป็นจานวนจริง
และ a 0 ได้
2. บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่าสุด และแกนสมมาตรของกราฟของสมการ y ax2 bx c
เมื่อ a 0 ได้
3. บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของ y จากสมการ y ax2 bx c เมื่อ a 0 ได้
สาระสาคัญ
ในการเขียนพาราโบลาที่ผ่านมาแล้วได้จากการพิจารณาสมการที่อยู่ในรูป
y a( x h)2 k แต่สมการพาราโบลาที่พบอาจจะอยู่ในรูป y ax 2 bx c เมื่อ a, b , c
เป็นค่าคงตัว ในการเขียนกราฟเรานิยมเขียนสมการ y ax2 bx c ให้อยู่ในรูป
y a( x h)2 k
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูอธิบายว่า ในการเขียนพาราโบลาที่ผ่านมาแล้วได้จากการพิจารณาสมการที่อยู่
ในรูป y a( x h)2 k แต่สมการพาราโบลาที่พบอาจจะอยู่ในรูป y ax2 bx c
เมื่อ a, b , c เป็นค่าคงตัว ในการเขียนกราฟเรานิยมเขียนสมการ y ax2 bx c ให้อยู่ในรูป
y a( x h)2 k วิธีนี้เป็นการทาบางส่วนของสมการให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2. ครูยกตัวอย่าง จงเขียนกราฟของสมการ y 3x2 6x 1
วิธีทา เขียนสมการให้อยู่ในรูป y a( x h)2 k ได้ดังนี้
y 3x 2 6 x 1
= 3( x2 2x) 1
= 3( x2 2x 12 12 ) 1
= 3( x2 2x 12 ) 3(12 ) 1
= 3( x 1)2 2
พิจารณาสมการ y = 3( x 1)2 2 จะได้
1.กราฟเป็นพาราโบลาหงาย
2.จุดต่าสุดคือ จุด ( 1,2 )
3.เส้นตรง x = 1 เป็นแกนสมมาตร
4.หาจุดต่างๆที่อยู่บนข้างเดียวกันของแกนสมมาตร
x 1 2 3
y 3( x 1)2 2 -2 1 10
3.ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง อีก 2-3 ตัวอย่าง
4.ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 4.5 ในหนังสือเรียน
ชั่วโมงที่ 2
5.เฉลยแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
6.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยมีครูเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรมรวบยอด
7. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 4.5 ในหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. หาพื้นที่ผิวของพีระมิดได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
พืน้ ที่ผิวข้างของพีระมิด = ความยาวรอบรูปของฐาน x สูงเอียง
พื้นที่ผิวทั้งหมดของพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวข้าง
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1.ครูทบทวนลักษณะของพีระมิดตรงซึ่งมีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า
และพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยการถามตอบจากภาพดังนี้
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2.ครูให้นักเรียนพิจารณาปัญหาต่อไปนี้
ปราโมทย์ต้องการทาสีหลังคาด้านนอกของศาลาพักผ่อน ถ้าปราโมทย์จะประมาณ
พื้นที่ต้องทาสีทั้งหมด เขาจะต้องคานวณหาสิ่งใดบ้าง
วิธีทา หาสูงเอียงดังนี้
AB2 = AO2 + OB2
= 22 + 12
= 5
AB 2.24 วา
พื้นที่ผิวพีระมิด = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐาน
4 1 2 2.24 + (2 2) ตารางวา
2
8.96 + 4 ตารางวา
12.96 ตารางวา
4 12.96 ตารางเมตร
51.84 ตารางเมตร
ดังนั้น ต้องใช้ผ้าเต็นท์ประมาณ 51.84 ตารางเมตร
3. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยมีครูคอยดูแล
ชั่วโมงที่ 2
4.ให้นักเรียนร่วมกันออกมาเฉลยแบบฝึกทักษะ
5.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะและแบบฝึกหัด 5.1 ก ในหนังสือเรียน
โดยมีครูคอยดูแล
กิจกรรมรวบยอด
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 5.1ก ในหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. สามารถหาพื้นที่ผิวของพีระมิดและนาไปใช้แก้ปัญหาได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
พืน้ ที่ผิวข้างของกรวย =
พื้นที่ผิวทั้งหมดของกรวย =
=
เมื่อ r = รัศมีของกรวย
l = สูงเอียง
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนลักษณะของพีระมิดจากการสังเกตจากรูป โดยการถามตอบจากภาพ
ดังนี้
กิจกรรมพัฒนา
ชั่วโมงที่ 1
2.ครูให้นักเรียนรูปต่อไปนี้
พืน้ ที่ผิวข้างของกรวย =
พื้นที่ผิวทั้งหมดของกรวย =
=
เมื่อ r = รัศมีของกรวย
l = สูงเอียง
ตัวอย่างที่ 1 ฝาชีครอบอาหารที่สานด้วยตอกไม้ไผ่มีลักษณะใกล้เคียงกับกรวย ถ้าฝาชีใบหนึ่งมี
เส้นผ่าน ศูนย์กลาง ยาว 30 เซนติเมตร และสูงเอียง 39เซนติเมตร ฝาชีสูงกี่เซนติเมตร และส่วนที่
สานด้วยตอกไม้ไผ่มีพื้นที่กี่เซนติเมตร (กาหนดให้ 22 )
7
วิธีทา ฝาชีมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 30 เซนติเมตร
30
จะมีรัศมี = 15
2
สูงเอียงของฝาชี 39 เซนติเมตร
ถ้าให้ h แทนส่วนสูงของฝาชี
จะได้ h 2 = 392 152
= 1521 225
= 1296
h = 36
ดังนั้นฝาชีสูง 36 เซนติเมตร
เนื่องจาก พื้นที่ผิวข้างของกรวยเท่ากับ rl
22
ดังนั้น ส่วนที่สานด้วยตอกไม้ไผ่มีพื้นที่ประมาณ 15 39
7
1839 ตารางเซนติเมตร
ตอบ ฝาชีสูง 36 เซนติเมตร
ส่วนที่สานด้วยตอกไม้ไผ่มีพื้นที่ประมาณ 1839 ตารางเซนติเมตร
3. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยมีครูคอยดูแล
ตัวอย่าง 2 ถังเก็บน้าของหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ส่วนล่างเป็นทรงกระบอก ส่วนบนเป็นกรวย ดังรูป จงหา
พื้นที่ผิวของถังน้านี้
วิธีทา ถังทรงกระบอกมีรัศมี 0.8 เมตร สูง 3 เมตร
พื้นที่ฐาน = r 2
3.14 × 0.82 ตารางเมตร
2.0 ตารางเมตร
พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2 rh
2 3.14 0.8 3 ตารางเมตร
15.07 ตารางเมตร
หาสูงเอียงของกรวยได้ดังนี้ AC = AB2 + BC2
2
= 1.22 + 0.82
= 1.44 + 0.64
= 2.04
AC 1.44 เมตร
ดังนั้น ผิวกรวยมีสูงเอียงยาวประมาณ 1.44 เมตร
พื้นที่ผิวข้างของกรวย = rl
ดังนั้น พื้นที่ผิวข้างของกรวย 3.14 0.8 1.44 ตารางเมตร
3.62 ตารางเมตร
ดังนั้น พื้นที่ผิวของถัง 2.0 + 15.07 + 3.62 ตารางเมตร
20.69 ตารางเมตร
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ โดยมีครูคอยดูแล
5.ให้นักเรียนร่วมกันออกมาเฉลยแบบฝึกทักษะ
6.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะและแบบฝึกหัด 5.1 ข ในหนังสือเรียน โดยมีครูคอยดูแล
กิจกรรมรวบยอด
7. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 5.1ข ในหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
8. ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. หาพื้นที่ผิวของทรงกลมและนาไปใช้แก้ปัญหาได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
พืน้ ที่ผิวข้างของทรงกลม =
เมื่อ = รัศมีของทรงกลม
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ให้นักเรียนสังเกตรูปลูกบอล พร้อมกับอธิบายว่าในการหาพื้นที่โค้งของทรงกลม
อาจทาได้โดยใช้วิธีการแบ่งผิวโค้งออกเป็นส่วนย่อย เช่น อาจแบ่งเป็นรูปหลายๆรูป แล้วหาผลบวก
ของพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมเหล่านั้นทั้งหมด
กิจกรรมพัฒนา
2.ครูอธิบายถึงที่มาของสูตรการหาพื้นที่ผิวของทรงกลม ดังนี้
2.1สมมติว่าแบ่งพื้นผิวของทรงกลมที่กาหนดให้ออกเป็นรูปหลายๆเหลี่ยม
จานวนมากๆ เช่น 10000 รูปและให้แต่ละรูปมีพื้นที่เป็น a1, a2 ,..., a10000 ตารางหน่วย จะได้ s =
a1 a2 ,..., a10000
2.2 เนื่องจากในข้อ 2.1 มีการแบ่งพื้นผิวของทรงกลมเป็นรูปหลายเหลี่ยม
จานวนมากๆจาทาให้เหมือนเป็นการแบ่งทรงกลมเป็นพีระมิดที่มีจุดยอดอยู่ที่จุดศูนย์กลางของทรง
กลมและพีระมิดแต่ละรูปมีส่วนสูงยาวเท่ากับรัศมีของทรงกลม (r)
1
2.3 เนื่องจากปริมาตรพีระมิดแต่ละรูป = x พื้นที่ฐาน x ความสูง
3
จะได้ปริมาตรของทรงกลม = 1 a1r 1 a2r 1 a2r ... 1 a10000r
3 3 3 3
= 1 r (a1 a2 a3 ... a10000 )
3
= 1 rs
3
เนื่องจาก ปริมาตรของทรงกลมเท่ากับ 4 r 3
3
จะได้ 4 r 3 = 1 rs
3 3
หรือ 1 rs = 4 r3
3 3
4 3 3
ดังนั้น s = r
3 r
= 4 r 2
นั่นคือ พื้นที่ผิวของทรงกลมเท่ากับ 4 r 2 ตารางหน่วย
จะได้สูตรในการหาพื้นที่ผิวของทรงกลมเป็นดังนี้
พืน้ ที่ผิวข้างของทรงกลม =
เมื่อ = รัศมีของทรงกลม
3.ครูนาเสนอตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 สร้างภาชนะเก็บน้าทรงกลมรัศมีภายนอก 1.25 เมตร เมื่อทาสีภายนอกถัง บริเวณ
ที่ทาสีเป็นกี่ตารางเมตร
ให้นักเรียนพิจารณาโจทย์ และอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการทา ซึ่งแสดงได้ดังนี้
วิธีทา พื้นที่ผิวทรงกลม = 4 r 2
เมื่อ r = 1.25 เมตร
พื้นที่ผิวทรงกลม 4 3.14 (1.25)2 ตารางเมตร
19.6 ตารางเมตร
ดังนั้น ต้องทาสีภายนอกถังเป็นเนื้อที่ประมาณ 19.6 ตารางเมตร
ตัวอย่างที่ 2 ถังน้าทรงกลมมีรัศมีภายใน 1.50 เมตร จะจุน้าได้กี่ลิตร
4 3
วิธีทา จากสูตร ปริมาตรทรงกลม = r
3
ดังนั้น ทรงกลมมีรัศมี 1.50 เมตร มีปริมาตร
= 4 (1.5)3
3
4
3.14 1.5 1.5 1.5 ลูกบาศก์เมตร
3
14.13 ลูกบาศก์เมตร
1,000 14.13 ลิตร
14,130 ลิตร
ดังนั้นถังน้าจุน้าได้ประมาณ 14130 ลิตร
4.ให้นักเรียนร่วมกันออกมาเฉลยแบบฝึกทักษะ
5.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะและแบบฝึกหัด 5.1 ค ในหนังสือเรียน โดยมีครูคอยดูแล
กิจกรรมรวบยอด
6. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 5.1ค ในหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
7.ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน
ผลการเรียนรู้
1. แก้ปัญหาหรือสถานการณ์ที่กาหนดให้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
สาระสาคัญ
นาความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาที่ซับซ้อนได้
ทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งในการทางาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน
1. ครูทบทวนเรื่องสูตรการหาปริมาตรและพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติ
กิจกรรมพัฒนา
2. ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนพิจารณาดังนี้
ตัวอย่าง บ้านหลังหนึ่งใช้น้าเฉลี่ยสัปดาห์ละ 5 ลูกบาศก์เมตร ถ้าต้องการสร้างถัง
1
เก็บน้าทรงกระบอกที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 1 เมตร สูง 3 เมตร เพื่อกักเก็บน้าฝนไว้ใช้ในฤดู
2
22
ร้อน 13 สัปดาห์ จะต้องสร้างถังเก็บน้าอย่างน้อยกี่ถัง (กาหนดให้ )
7
วิธีทา ใช้น้าโดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 5 ลูกบาศก์เมตร
ในเวลา 13 สัปดาห์จะต้องมีน้าไว้ใช้ 5 13 = 65 ลูกบาศก์เมตร
1
ถังเก็บน้าทรงกระบอกแต่ละถังมีรัศมี เมตร สูง 3 1 เมตร หรือ 7
เมตร
2 2 2
เนื่องจาก ปริมาตรของทรงกระบอกเท่ากับ r 2 h
2
ดังนั้น ถังน้าแต่ละถังจะเก็บน้าได้ประมาณ 22 1 7
7 2 2
11
ลูกบาศก์เมตร
4
ดังนั้น จะต้องสร้างถังเก็บน้าอย่างน้อย 65 11 = 65 4 24 ถัง
4 11
ตอบ ประมาณ 24 ถัง
กิจกรรมรวบยอด
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 5.2 ในหนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การวัดและการประเมิน