ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | 12 มีนาคม 2558 – 14 พฤศจิกายน 2560 |
ทีม | 210 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 872 |
จำนวนประตู | 2454 (2.81 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 18,369,864 (21,066 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | รอแบร์ต แลวันดอฟสกี โมฮัมหมัด อัล-ซาห์ลาวี อาห์เหม็ด คาลิล (คนละ 16 ประตู) |
ฟุตบอลโลก 2018 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 โดยมีประเทศรัสเซีย เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในรอบสุดท้าย จะมีเพียง 32 ทีมจากประเทศต่างๆทั่วโลกที่จะมีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันรอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งจะต้องแข่งขันรอบคัดเลือกทั่วโลกโดยแบ่งเป็นตัวแทนจากทวีปต่างๆจนเหลือ 32 ทีมสุดท้าย ภายใต้การควบคุมของฟีฟ่า ฟุตบอลโลกครั้งนี้ มีทีมจากชาติสมาชิก ฟีฟ่า ทั้งหมด 208 ทีมจากทั่วโลก ลงแข่งขันเพื่อคัดเอา 31 ทีมผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายร่วมกับเจ้าภาพรัสเซีย โดยทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรกได้แก่ ภูฏาน และ ซูดานใต้ การคัดเลือกจะแยกกันเป็นโซน โซนเอเชียจะเริ่มแข่งขันเป็นที่แรก ในวันพฤหัสบดี ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 ระหว่าง ติมอร์-เลสเต และ มองโกเลีย[1]
ทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน
[แก้]ทีม | วิธีการของ รอบคัดเลือก |
วันที่ของ รอบคัดเลือก |
จำนวนครั้งที่ลงสนาม ในรอบสุดท้าย |
เข้าร่วมครั้งล่าสุด | จำนวนครั้งที่ลงสนาม ในรอบสุดท้าย ติดต่อกัน |
ผลงานที่ดีที่สุด ครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|---|---|---|
รัสเซีย | เจ้าภาพ | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 | ครั้งที่ 111 | 2014 | 2 | อันดับ 4 (1966)2 |
บราซิล | ชนะเลิศ โซนอเมริกาใต้ | 28 มีนาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 21 | 2014 | 21 | ชนะเลิศ (1958, 1962, 1970, 1994, 2002) |
อิหร่าน | ชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม เอ | 12 มิถุนายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2014 | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (1978, 1998, 2006, 2014) |
ญี่ปุ่น | ชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี | 31 สิงหาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 6 | 2014 | 6 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2002, 2010) |
เม็กซิโก | ชนะเลิศ โซนอเมริกาเหนือ รอบที่ 5 | 1 กันยายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 16 | 2014 | 7 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (1970, 1986) |
เบลเยียม | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอช | 3 กันยายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 13 | 2014 | 2 | อันดับ 4 (1986) |
เกาหลีใต้ | รองชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม เอ | 5 กันยายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 10 | 2014 | 9 | อันดับ 4 (2002) |
ซาอุดีอาระเบีย | รองชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี | 5 กันยายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2006 | 1 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (1994) |
เยอรมนี | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ซี | 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 193 | 2014 | 17 | ชนะเลิศ (1954, 1974, 1990, 2014) |
อังกฤษ | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอฟ | 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 15 | 2014 | 6 | ชนะเลิศ (1966) |
สเปน | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม จี | 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 15 | 2014 | 11 | ชนะเลิศ (2010) |
ไนจีเรีย | ชนะเลิศ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 กลุ่ม บี | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 6 | 2014 | 3 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (1994, 1998, 2014) |
คอสตาริกา | รองชนะเลิศ โซนอเมริกาเหนือ รอบที่ 5 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2014 | 2 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2014) |
โปแลนด์ | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม อี | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 8 | 2006 | 1 | อันดับ 3 (1974, 1982) |
อียิปต์ | ชนะเลิศ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 กลุ่ม อี | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 3 | 1990 | 1 | รอบแรก (1934, 1990) |
ไอซ์แลนด์ | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ไอ | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 1 | – | 1 | – |
เซอร์เบีย | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ดี | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 124 | 2010 | 1 | อันดับ 4 (1930, 1962)5 |
โปรตุเกส | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม บี | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 7 | 2014 | 5 | อันดับ 3 (1966) |
ฝรั่งเศส | ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอ | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 15 | 2014 | 6 | ชนะเลิศ (1998) |
อุรุกวัย | รองชนะเลิศ โซนอเมริกาใต้ | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 13 | 2014 | 3 | ชนะเลิศ (1930, 1950) |
อาร์เจนตินา | อันดับที่ 3 โซนอเมริกาใต้ | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 17 | 2014 | 12 | ชนะเลิศ (1978, 1986) |
โคลอมเบีย | อันดับที่ 4 โซนอเมริกาใต้ | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 6 | 2014 | 2 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2014) |
ปานามา | อันดับที่ 3 โซนอเมริกาเหนือ รอบที่ 5 | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 1 | – | 1 | – |
เซเนกัล | ชนะเลิศ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 กลุ่ม ดี | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 2 | 2002 | 1 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2002) |
โมร็อกโก | ชนะเลิศ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 กลุ่ม ซี | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 1998 | 1 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (1998) |
ตูนิเซีย | ชนะเลิศ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 กลุ่ม เอ | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2006 | 1 | รอบแบ่งกลุ่ม (1978, 1998, 2002, 2006) |
สวิตเซอร์แลนด์ | ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 11 | 2014 | 4 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (1934, 1938, 1954) |
โครเอเชีย | ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2014 | 2 | อันดับ 3 (1998) |
สวีเดน | ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 | 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 12 | 2006 | 1 | รองชนะเลิศ (1958) |
เดนมาร์ก | ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2010 | 1 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (1998) |
ออสเตรเลีย | ผู้ชนะ คอนคาเคฟ พบ เอเอฟซี เพลย์ออฟ | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 2014 | 4 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2006) |
เปรู | ผู้ชนะ โอเอฟซี พบ คอนเมบอล เพลย์ออฟ | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | ครั้งที่ 5 | 1982 | 1 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (1970), 1978) |
- หมายเหตุ
- 1: ฟุตบอลโลกครั้งนี้เป็นครั้งที่ 4 ที่รัสเซียเข้าแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าถือว่ารัสเซียเป็นทีมที่สืบทอดมาจากสหภาพโซเวียตซึ่งผ่านเข้ารอบสุดท้ายทั้งหมด 7 ครั้ง
- 2: ผลงานที่ดีที่สุดของรัสเซียคือรอบแบ่งกลุ่มในปี 1994 2002 และ 2014 อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าถือว่ารัสเซียเป็นทีมที่สืบทอดมาจากสหภาพโซเวียตซึ่งเป็นเจ้าของผลงานนี้
- 3: ระหว่างปี 1951 และ 1990 เยอรมนีมักถูกเรียกว่า "เยอรมนีตะวันตก" เพื่อไม่ให้สับสนกับประเทศเยอรมนีตะวันออกและทีมชาติซึ่งมีอยู่ในขณะนั้น
- 4: ฟุตบอลโลกครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ที่เซอร์เบียเข้าแข่งขัน อย่างไรก็ตาม อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าถือว่าเซอร์เบียเป็นทีมที่สืบทอดมาจากยูโกสลาเวียและเซอร์เบียและมอนเตเนโกรที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายรวมกันอีก 10 ครั้ง
- 5: ในฟุตบอลโลก 1930 ไม่มีนัดชิงอันดับที่ 3 และไม่มีการมอบรางวัลให้กับทีมที่ได้อันดับที่ 3 โดยทั้งสหรัฐอเมริกาและยูโกสลาเวียแพ้ในรอบรองชนะเลิศ อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าจัดอันดับทีมดังกล่าวเป็นอันดับที่ 3 และ 4 ตามลำดับ
รูปแบบการแข่งขัน
[แก้]รูปแบบของการแข่งขันที่มีคุณสมบัติขึ้นอยู่กับแต่ละสมาพันธ์ แต่ละรอบอาจเล่นในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งต่อไปนี้[2]
- ในการแข่งขันรูปแบบลีกหากมีมากกว่า 2 ทีมขึ้นไปจะเล่่่นแบบเหย้า-เยือน โดยการแข่งขันแบบพบกันหมด หรือในข้อยกเว้นที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการฟีฟ่า หากเป็นการแข่งขันที่พบกันนัดเดียวจะให้ทีมใดทีมหนึ่งเป็นทีมเหย้าหรือแข่งขันกันที่สนามกลาง
- ในรูปแบบการแข่งขันแพ้คัดออก จะให้ทั้งสองทีมลงเล่นแบบเหย้า-เยือน
กฎการจัดอันดับ
[แก้]ในรูปแบบลีกอันดับของทีมในแต่ละกลุ่มจะขึ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี้[2]
- คะแนน (ชนะ 3 คะแนน, เสมอ 1 คะแนน, แพ้ 0 คะแนน)
- ประตูได้เสีย
- ประตูได้
- คะแนนที่ได้ในเกมที่พบกัน
- ประตูที่ได้ในเกมที่พบกัน
- ประตูทีมเยือนที่ทั้งสองทีมพบกัน (เฉพาะการเสมอกันระหว่างสองทีมในรูปแบบลีก)
- คะแนนแฟร์เพลย์
- ใบเหลืองแรก: ลบ 1 คะแนน
- ใบเหลืองใบที่สอง: ลบ 3 คะแนน
- ใบแดงโดยตรง: ลบ 4 คะแนน
- ใบแดงหลังจากได้รับใบเหลืองแล้ว: ลบ 5 คะแนน
- จับสลากโดยคณะกรรมการฟีฟ่า
กรณีที่ทีมที่จบในตำแหน่งเดียวกันในกลุ่มต่าง ๆ ถูกนำมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาว่าทีมใดจะผ่านไปสู่รอบต่อไปเกณฑ์จะตัดสินโดยสมาพันธ์จะต้องได้รับการอนุมัติจากฟีฟ่า[2]
ในรูปแบบรอบแพ้คัดออก ทีมที่มีคะแนนรวมสูงกว่าจะผ่านเข้าสู่รอบถัดไป ในกรณีที่คะแนนรวมเท่ากันจะมีการใช้ กฎประตูทีมเยือน หากประตูทีมเยือนยังเท่ากันจะมีการเล่นช่วงต่อเวลาพิเศษ 30 นาที แบ่งออกเป็นครึ่งละ 15 นาที กฎประตูทีมเยือนจะถูกนำมาใช้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ เช่นกัน หากคะแนนรวมเสมอกันและไม่มีทีมใดเป็นผู้ชนะในกฎประตูทีมเยือนจะตัดสินโดย การดวลลูกโทษ[2]
การคัดเลือก
[แก้]โซนเอเชีย
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
- รอบแรก: มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 6 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
- รอบสอง: มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม โดยจะคัดเอาผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม และทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
- รอบสาม: จากการแข่งขันรอบสองจะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะถูกแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม โดยแชมป์และรองแชมป์ของกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2018 ที่ประเทศรัสเซีย
- รอบสี่: อันดับสามของทั้งสองกลุ่มจะมาเพลย์ออฟเพื่อหาผู้ชนะไปแข่งกับตัวแทนจากทวีปอื่น
และการแข่งขันรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกครั้งนี้ จะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ไปในตัวด้วย[3]
รอบปัจจุบัน (รอบที่ 3)
[แก้]กลุ่ม เอ | กลุ่ม บี | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
โซนแอฟริกา
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา
- รอบแรก และรอบที่ 2 : แข่งขันแบบน็อกเอาต์ เหย้า-เยือน เพื่อคัด 20 ทีมเข้ารอบสี่
- รอบที่ 3 : แข่งขัน 20 ทีม แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีมเล่นแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน แชมป์ของแต่ละกลุ่มได้ผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้าย
รอบปัจจุบัน (รอบที่ 3)
[แก้]จับสลากวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ณ สำนักงานใหญ่ซีเอเอฟ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์[4]
กลุ่ม เอ | กลุ่ม บี | กลุ่ม ซี | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่ม ดี | กลุ่ม อี | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
โซนอเมริกาเหนือ
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน
- รอบแรก: มี 14 ทีม (ทีมอันดับ 22–35) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 7 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
- รอบสอง: มี 20 ทีม (ทีมอันดับ 9–21 และ 7 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 10 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
- รอบสาม: มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 7–8 และ 10 ทีมที่ผ่านรอบสอง) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 6 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
- รอบสี่: มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 1–6 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบสาม) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม เล่นแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน แชมป์และรองแชมป์ของแต่ละกลุ่มผ่านเข้ารอบ 5
- รอบห้า (Hexagonal): 6 ทีมจากรอบ 4 จะเล่นแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน อันดับ 1, 2 และ 3 ได้ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ส่วนอันดับ 4 ไปเล่นเพลย์ออฟกับทีมที่ 5 จากโซนเอเชีย
รอบปัจจุบัน (รอบที่ 5)
[แก้]รอบที่ 5 | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
โซนอเมริกาใต้
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้
- การแข่งขันระบบลีก ทั้ง 10 ทีมแข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน อันดับ 1 ถึง 4 ได้เข้ารอบสุดท้าย และอันดับ 5 ไปเตะเพลย์ออฟกับตัวแทนจากโซนโอเชียเนีย
ตารางคะแนน
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | คะแนน |
---|---|---|---|
1 | บราซิล | 18 | 41 |
2 | อุรุกวัย | 18 | 31 |
3 | อาร์เจนตินา | 18 | 28 |
4 | โคลอมเบีย | 18 | 27 |
5 | เปรู | 18 | 26 |
6 | ชิลี | 18 | 26 |
7 | ปารากวัย | 18 | 24 |
8 | เอกวาดอร์ | 18 | 20 |
9 | โบลิเวีย | 18 | 14 |
10 | เวเนซุเอลา | 18 | 12 |
โซนโอเชียเนีย
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย
รอบปัจจุบัน (รอบที่ 3)
[แก้]กลุ่ม เอ แม่แบบ:ตารางคะแนนฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนโอเชียเนีย – รอบที่ 3 กลุ่ม เอ
กลุ่ม บี แม่แบบ:ตารางคะแนนฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนโอเชียเนีย – รอบที่ 3 กลุ่ม บี
รอบสุดท้าย ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนโอเชียเนีย – รอบที่ 3
โซนยุโรป
[แก้]อยู่ภายใต้การดูแลของสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป
ตำแหน่งสุดท้าย (รอบแรก)
[แก้]กลุ่ม เอ | กลุ่ม บี | กลุ่ม ซี | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่ม ดี | กลุ่ม อี | กลุ่ม เอฟ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่ม จี | กลุ่ม เอช | กลุ่ม ไอ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
|
รอบปัจจุบัน (รอบสอง)
[แก้]ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ไอร์แลนด์เหนือ | 0–1 | สวิตเซอร์แลนด์ | 0–1 | 0–0 |
โครเอเชีย | 4–1 | กรีซ | 4–1 | 0–0 |
เดนมาร์ก | 5–1 | สาธารณรัฐไอร์แลนด์ | 0–0 | 5–1 |
สวีเดน | 1–0 | อิตาลี | 1–0 | 0–0 |
รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
[แก้]คอนคาแคฟ พบ เอเอฟซี
[แก้]ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ฮอนดูรัส | 1–3 | ออสเตรเลีย | 0–0 | 1–3 |
โอเอฟซี พบ คอนเมบอล
[แก้]ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
นิวซีแลนด์ | 0–2 | เปรู | 0–0 | 0–2 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://football.kapook.com/news-21596
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 "Regulations – 2018 FIFA World Cup Russia" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-07-12. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ ไทยเริ่มรอบสอง! เอเอฟซีเผยขั้นตอนคัดบอลโลก 2018-เอเชียนคัพ 2019
- ↑ "June draw for third round of African Zone qualifiers". FIFA.com. 20 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-01. สืบค้นเมื่อ 2016-04-13.