ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย
ฉายา | Орлови / Оrlovi (อินทรี) เซิร์บ (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลเซอร์เบีย | ||
สมาพันธ์ | ยูฟ่า (ยุโรป) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ดรากัน สตอยโควิช | ||
กัปตัน | ดูชัน ตาดีช | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | บรานิสลัฟ อิวานอวิช (105) | ||
ทำประตูสูงสุด | อาเล็กซานดาร์ มิทรอวิช (45) | ||
สนามเหย้า | หลายแห่ง | ||
รหัสฟีฟ่า | SRB | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 32 1 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 6 (ธันวาคม ค.ศ. 1998) | ||
อันดับต่ำสุด | 101 (ธันวาคม ค.ศ. 1994) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (Uherské Hradiště ประเทศเช็กเกีย; 18 สิงหาคม ค.ศ. 2006) | |||
ชนะสูงสุด | |||
ยูโกสลาเวีย 10–0 เวเนซุเอลา (กูรีชีบา ประเทศบราซิล; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1972) ในฐานะ เซอร์เบีย อาเซอร์ไบจาน 1–6 เซอร์เบีย (บากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน; 17 ตุลาคม ค.ศ. 2007) เซอร์เบีย 6–1 บัลแกเรีย (เบลเกรด ประเทศเซอร์เบีย; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008) เซอร์เบีย 5–0 โรมาเนีย (เบลเกรด ประเทศเซอร์เบีย; 10 ตุลาคม ค.ศ. 2009) เซอร์เบีย 6–1 เวลส์ (นอวีซาด ประเทศเซอร์เบีย; 11 กันยายน ค.ศ. 2012) เซอร์เบีย 5–0 รัสเซีย (เบลเกรด ประเทศเซอร์เบีย; 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020) | |||
แพ้สูงสุด | |||
เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920) อุรุกวัย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ปารีส ประเทศฝรั่งเศส; 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1924) เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ปราก เชโกสโลวาเกีย; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1925) ในฐานะ เซอร์เบีย ยูเครน 5–0 เซอร์เบีย (ลวิว ประเทศยูเครน; 7 มิถุนายน ค.ศ. 2019) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 12 (ครั้งแรกใน 1930) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (1930, 1962) | ||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | |||
เข้าร่วม | 5 (ครั้งแรกใน 1960) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (1960, 1968) | ||
ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย (เซอร์เบีย: Фудбалска репрезентација Србије, อักษรโรมัน: Fudbalska reprezentacija Srbije) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศเซอร์เบีย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเซอร์เบีย ฟีฟ่าและยูฟ่าให้การรับรองว่าทีมชาติเซอร์เบียสืบทอดมาจากทีมชาติยูโกสลาเวียและทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ใน ค.ศ. 2010 ทีมผ่านรอบคัดเลือกและเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกในนามฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียเป็นครั้งแรก[2] และใน ค.ศ. 2018 ได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่สอง
ทางฟีฟ่าและยูฟ่าพิจารณาให้เซอร์เบียเป็นผู้สืบทอดทั้งฟุตบอลทีมชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย และฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร[3][4][5][6][7][8]
ประวัติ
[แก้]- 1930 ยูโกสลาเวีย ได้อันดับที่ 4 ฟุตบอลโลก
- 1960 ยูโกสลาเวีย ได้รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 1962 ยูโกสลาเวีย ได้อันดับที่ 4 ฟุตบอลโลก
- 1968 ยูโกสลาเวีย ได้รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 1998 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ตกรอบ 16 ทีม ฟุตบอลโลก
- 2000 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ตกรอบ 8 ทีม ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2006 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ได้รอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก หลังจากนั้นมอนเตเนโกรได้แยกตัวออกมา ทำให้เกิดทีมชาติเซอร์เบีย
- 2008 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2010 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก โดยเป็นการเข้าแข่งฟุตบอลโลกครั้งแรกในชื่อเซอร์เบีย
- 2012 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2016 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2018 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก
- 2020 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2022 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก
- 2024 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
ผลงานการแข่งขัน
[แก้]- ฟุตบอลโลก
- ในนามทีมชาติยูโกสลาเวีย
- ในนามทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
- 2006 – รอบแบ่งกลุ่ม
- ในนามทีมชาติเซอร์เบีย
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- ในนามทีมชาติยูโกสลาเวีย
- ในนามทีมชาติเซอร์เบีย
- 2024 – รอบแบ่งกลุ่ม
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ
[แก้]เกียรติประวัติ
[แก้]- ฟุตบอลโลก
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- โอลิมปิกฤดูร้อน
- เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
- ชนะเลิศ: 1971, 1979
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ "FIFA Svetsko prvenstvo 2010. u Južnoj Africi". reprezentacija.rs (ภาษาเซอร์เบีย). 6 ธันวาคม 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 ตุลาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2021.
- ↑ "Krštenje naše fudbalske reprezentacije". reprezentacija.rs (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 29 สิงหาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2021.
- ↑ Serbia. ที่เว็บไซต์ทางการ FIFA.
- ↑ News: Serbia. ที่เว็บไซต์ทางการ UEFA. 1 มกราคม 2011. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2012.
- ↑ "Impressum". reprezentacija.rs (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2021.
- ↑ "Фудбалски савез Србије". fss.rs (ภาษาเซอร์เบีย). สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2021.
- ↑ "JUGO-FUDBAL PRE JUGOSLAVIJE: Pre tačno 100 godina formirana fudbalska organizacija nekadašnje zajedničke države". NOVOSTI (ภาษาเซอร์เบีย). สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2021.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ทางการ
- Football Association of Serbia – official site (ในภาษาเซอร์เบีย)
- FIFA profile
- Serbian National Football Team (ในภาษาเซอร์เบีย)
- UEFA team profile
- FIFA team profile
- ไม่ทางการ
- Beli Orlovi เก็บถาวร 18 พฤศจิกายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาเซอร์เบีย)
- Serbian football ที่ xtratime.org
- BeliOrlovi.rs – fan site (ในภาษาเซอร์เบีย)
- RSSSF – Serbia men's national football team international matches