แผนการจัดการเรียนรู้สมการกำลังสอง(4)
แผนการจัดการเรียนรู้สมการกำลังสอง(4)
แผนการจัดการเรียนรู้สมการกำลังสอง(4)
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์สมการ และอสมการ อธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้
2. ตัวชี้วัด
ค 1.3 ม.3/2 ประยุกต์ใช้สมการกำลังสองในการแก้
ปัญหาคณิตศาสตร์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) นักเรียนสามารถเขียนสมการกำลังสองตัวแปร
เดียวแทนโจทย์ปัญหา (K)
2) นักเรียนสามารถแสดงแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว พร้อมทั้งตรวจสอบคำ
ตอบได้ (P)
3) ใฝ่เรียนรู้ (A)
4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. มีความสามารถในการสื่อสาร
5. สาระสำคัญ
ขั้นตอนในการแก้ปัญหาลักษณะเดียวกัน คือ เริ่ม
ต้นจากการวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจปัญหา
สร้างสมการหรืออสมการแทนปัญหานั้น ดำเนินการแก้
สมการหรืออสมการเพื่อหา คำตอบ และตรวจสอบคำตอบ
พร้อมทั้งความสมเหตุสมผลของคำตอบ เพื่อเชื่อมโยง
มาสู่การแก้โจทย์ปัญหาสมการ กำลังสองตัวแปรเดียว
และสุดท้ายคือตรวจคำตอบ
6. สาระการเรียนรู้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปร
เดียว
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. นักเรียนทบทวนสูตรของการแก้สมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียว ดังนี้
สมการกำลังสองตัวแปรเดียวที่อยู่ในรูป ax2 +
bx + c = 0 เมื่อ x เป็นตัวแปร a , b และ c เป็นค่า
คงตัว โดยที่ a ≠ 0
- ถ้า b2 – 4ac ≥ 0 แล้วจะมีจำนวนจริงเป็นคำ
ตอบของสมการ ซึ่งหาได้จากสูตร
- b± √ b2 - 4ac
X= 2a
ขั้นสอน
4. ครูยกตัวอย่าง การแก้สมการกำลังตัวแปร
เดียว เพื่ออธิบายการแก้โจทย์ปัญหาสมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียวดังนี้
ตัวอย่าง จำนวนสองจำนวนรวมกันเท่ากับ 22
และถ้ายกกำลังสองของแต่ละจำนวนแล้วนำมารวมกัน
จะเท่ากับ 274 จงหาจำนวนทั้งสองจำนวนนั้น
วิธีทำ ให้ x แทนจำนวนจำนวนหนึ่ง
อีกจำนวนหนึ่งคือ 22 - x
ผลบวกของกำลังสองของจำนวนทั้งสอง
เท่ากับ 274
จะได้สมการเป็น x2 + (22 - x)2
= 274
x2 + 484 - 44x + x2 =
274
2x2 - 44x + 210= 0
2
x - 22x + 105 =
0
ในที่นี้ a = 1, b = -22 และ c =
105
2
จะได้ b2 - 4ac = (−22 ) - 4( 1 ) ( 105 )
= 484 - 420
= 64
−b±√ b2 −4 ac
จากสูตร x = 2a
−(−22 )±√ 64
จะได้ x = 2 (1 )
22±8
= 2
ดังนั้น x = 15 หรือ x = 7
ตรวจสอบ ถ้าจำนวนหนึ่งคือ 15
จะได้อีกจำนวนหนึ่งคือ 22 - 15 =
7
กำลังสองของ 15 คือ 225 และ
กำลังสองของ 7 คือ 49
จะได้ผลบวกของกำลังสองของแต่ละ
จำนวน เท่ากับ 225 + 49 = 274
ซึ่งเป็นจำนวนจริงตามเงื่อนไขใน
โจทย์
นั่นคือ จำนวนทั้งสอง คือ 15 และ
7
ตอบ 15 และ 7
ตัวอย่าง รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีด้าน
หนึ่งยาวกว่าสามเท่าของอีกด้านหนึ่งอยู่ 5
เซนติเมตร และมีพื้นที่ 138 ตารางเซนติเมตร จง
หาความยาวของแต่ละด้านของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วิธีทำ ให้ด้านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากรูปนี้ยาว x เซนติเมตร
3x + 5 ความยาวของอีกด้านหนึ่งยาวกว่าสาม
เท่าของอีกด้านหนึ่งอยู่ 5 เซนติเมตร
x ดังนั้น อีกด้านหนึ่งของรูป
สี่เหลี่ยมรูปนี้ยาว 3x + 5 เซนติเมตร
เนื่องจากรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้มี
พื้นที่ 138 ตารางเซนติเมตร
จะได้สมการเป็น x( 3 x+5 ) = 138
2
3x + 5x = 138
2
3x + 5x - 138 = 0
ในที่นี้ a = 3, b = 5 และ c = -
138
จะได้ว่า b2 -4ac = 52 - 4(3)(-138)
= 25 + 1,656
= 1,681
−b±√ b2 −4 ac
จากสูตร x = 2a
−5± √1681
จะได้ x = 2 (3)
−5±41
= 6
46
−
ดังนั้น x = 6 หรือ x = 6
ตรวจสอบ เนื่องจาก x แทนความยาวของด้าน
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะต้องเป็น
จำนวนบวก
46
−
ดังนั้น 6 จึงไม่ใช่ความยาวของ
ด้าน
ถ้าให้ด้านหนึ่ง ของรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากยาว 6 เซนติเมตร
จะได้อีกด้านหนึ่งยาว ( 3×6 ) +5=23
เซนติเมตร
และได้พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากเป็น 6 ¿ 23 = 138 ตารางเซนติเมตร
ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์
นั่นคือ ด้านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากยาว 6 เซนติเมตรและอีกด้านหนึ่งยาว
23 เซนติเมตร
ตอบ 6 เซนติเมตร และ 23 เซนติเมตร
ตัวอย่าง บัญชากับธนากรขับรถมาพบกันที่ทางแยก
แห่งหนึ่ง หลังจากนั้นบัญชาขับรถไปทางทิศตะวันตก
ในขณะที่ธนาขับรถไปทางทิศเหนือ ดังรูป เมื่อเวลา
ผ่านไป 1 ชั่วโมง ธนากรขับรถได้ระยะทางมากกว่า
บัญชา 20 กิโลเมตรและอยู่ห่างกัน 100 กิโลเมตร
จงหาว่าบัญชาและธนากรขับรถได้ระยะทางห่างจากทาง
แยกเท่าไร
N
รถของธนากร
100กิ
โลเมตร
รถของบั
ญชา ทางแยก
วิธีทำ ให้บัญชาขับรถได้ระยะทาง
x กิโลเมตร
ธนากรขับรถได้ระยะทาง x
+ 20 กิโลเมตร
ระยะทางที่บัญชาและธนากรห่างกันดัง
รูป 100 กิโลเมตร
โดยทฤษฎีบทพีทาโกรัสจะได้สมการเป็น
x2 + (x + 20)2 = 1002
x2 + x2 + 40x + 400 = 10,000
2
2x + 40x - 9,600 = 0
2
x + 20x - 4,800 = 0
ในที่นี้ a = 1, b = 20 และ c = -
4,800
จะได้ b2 - 4ac = 202 - 4(1)(-4,800)
= 400 + 19,200
= 19,600
−b±√ b2 −4 ac
จากสูตร x = 2a
−20± √19600
จะได้ x = 2
−20±140
= 2
ดังนั้น x = 60 หรือ x = -80
ตรวจสอบ เนื่องจาก x แทนระยะทางซึ่งจะต้อง
เป็นจำนวนบวก ดังนั้น -80 จึงไม่ใช่ระยะทาง
ถ้าให้บัญชาขับรถได้ระยะทาง 60
กิโลเมตร
ธนากรขับรถได้ระยะทาง 60 + 20 = 80
กิโลเมตร
จะได้ 602 + 802 = 3,600 + 6,400
= 10,000
= 1002
ดังนั้น บัญชาและธนากรอยู่ห่างกัน 100
กิโลเมตร ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์
นั่นคือ บัญชาขับรถได้ระยะทาง 60 กิโลเมตร
ธนากรขับรถได้ระยะทาง 80 กิโลเมตร
ตอบ บัญชาขับรถได้ระยะทาง 60 กิโลเมตร
ธนากรขับรถได้ระยะทาง 80 กิโลเมตร
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แต่ละ
กลุ่มจับสลากรับแถบโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนจริง
กลุ่มละ 1 ข้อ ดังนี้
1) จำนวนคู่สองจำนวนเรียงกัน คูณกันได้
168 จงหาจำนวนคู่ทั้งสองจำนวนนี้
2) ถ้าผลคูณของจำนวนถัดไปที่เป็นจำนวนคี่
ที่มีค่าเป็นบวกสองจำนวนมีค่าเท่ากับ 323
หาจำนวนทั้งสอง
3) ถ้าผลคูณของจำนวนเต็มสองจำนวนเรียงกัน
เท่ากับ 462 แล้วผลบวกของจำนวนทั้งสอง
มีค่าเท่าไร
4) จำนวนสองจำนวนรวมกันเป็น 9 และกำลัง
สองของแต่ละจำนวนรวมกันเป็น 41
หาจำนวนทั้งสองนี้ต่างกันเท่าไร
จากนั้นร่วมกันแก้โจทย์ปัญหาที่ได้ พร้อม
ทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียนจนครบทั้ง 4 ข้อ
6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับขั้นตอน
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้ว่า
ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสอง
ตัวแปรเดียว มีดังนี้
1) อ่านโจทย์แล้วกำหนดตัวแปรแทนจำนวนที่
ต้องการหา
2) สร้างสมการจากปัญหา
3) แก้สมการหาค่าตัวแปร
4) ตรวจสอบคำตอบ
ขั้นสรุป
7. ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ 3.2.12 แล้วสุ่ม
ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอแนวคิดที่หน้าชั้น
เรียน
8. นักเรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนในการแก้ปัญหา
ลักษณะเดียวกัน คือ เริ่มต้นจากการวิเคราะห์ เพื่อ
ทำความเข้าใจปัญหา สร้างสมการหรืออสมการแทนปัญหา
นั้น ดำเนินการแก้สมการหรืออสมการเพื่อหา คำตอบ
และตรวจสอบคำตอบพร้อมทั้งความสมเหตุสมผลของคำ
ตอบ เพื่อเชื่อมโยงมาสู่การแก้โจทย์ปัญหาสมการ
กำลังสองตัวแปรเดียว และสุดท้ายคือตรวจคำตอบ
9. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ 3.3 ข้อ 1 – 2
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน
9. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ
การเรียน ที่ใช้ ประเมิน ประเมิน
รู้
1) ด้านความ
รู้ (K) - แบบฝึกหัด - ตรวจแบบ ถูกต้อง
- นักเรียน ที่ 3.3 ฝึกหัดที่ ร้อยละ 80
สามารถ 3.3 ขึ้นไป
เขียนสมการ ถือว่า
กำลังสอง ผ่าน
ตัวแปร
เดียวแทน
โจทย์ปัญหา
2) ด้าน
ทักษะ (P) - แบบฝึกหัด - ตรวจแบบ ถูกต้อง
- นักเรียน ที่ 3.3 ฝึกหัดที่ ร้อยละ 80
สามารถแสดง 3.3 ขึ้นไป
แก้โจทย์ ถือว่า
ปัญหา ผ่าน
เกี่ยวกับ
สมการ
กำลังสอง
ตัวแปร
เดียว พร้อม
ทั้งตรวจ
สอบคำตอบ
ได้
3) ด้าน
เจตคติ (A) - แบบประเมิน สังเกต เกณฑ์การ
- ใฝ่เรียน คุณลักษณะ พฤติกรรมใน ประเมิน
รู้ อันพึง ชั้นเรียน แนบท้าย
ประสงค์ ดังนี้ แผนการ
- ตั้งใจ จัดการ
เรียน เรียนรู้
- เอาใจใส่
และมีความ
เพียร
พยายามใน
การเรียน
รู้
- สนใจเข้า
ร่วม
กิจกรรมการ
เรียนรู้
ต่างๆ
10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
10.1 กิจกรรมเสนอแนะ
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
10.2 บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
10.3 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
.................................................................................
...............................................................................
ลงชื่อ……………………..………………..ผู้สอน
(นายจิรยุทธิ์ เสมากูล)
ภาคผนวก
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 4 ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียนพยายามในการเรียน และ
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่าง
เรียน แล้วขีดเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับ
คะแนน
พฤติกรรมบ่งชี้
เอาใจ สนใจ
ใส่และ เข้า
ระดับคุณภาพ
คะแนนรวม
มีความ ร่วม
ลำ ชื่อ-นามสกุล
ตั้งใจ เพียร กิจกรร
ดับ ของผู้รับการ
เรียน พยายาม มการ
ที่ ประเมิน
ในการ เรียน
เรียน รู้
รู้ ต่างๆ
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
ลงชื่อ......................................ผู้สอน
(
นายจิรยุทธิ์ เสมากูล)
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2
คะแนน หมายถึง ดี
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
หมายถึง ผ่าน
ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
หมายถึง ไม่ผ่าน
เกณฑ์การสรุปผล
ระดับคะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ดี
เยี่ยม
ระดับคะแนน 4 – 6 คะแนน หมายถึง ดี
ระดับคะแนน 1 – 3 คะแนน หมายถึง
ผ่าน
ระดับคะแนน 0 คะแนน หมายถึง ไ ม่
ผ่าน
เกณฑ์การให้คะแนนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
ข้อที่ 4 ใฝ่เรียนรู้ ตั ว ชี้ วั ด ที่ 4.1
ตั้งใจเพียนพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้
พฤติกรรมบ่ง ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม ผ่าน ไม่ผ่าน
ชี้ ดี (2)
(3) (1) (0)
4.1.1 ตั้งใจ ตั้งใจ ตั้งใจ ตั้งใจ ไม่
เรียน และรับ และรับ และรับ ตั้งใจ
4.1.2 เอาใจ ผิดชอบใน ผิดชอบ ผิดชอบ ปฏิบัติ
ใส่และมี การ ในการ ในการ หน้าที่
ความเพียร ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบั ในการ
พยายามในการ หน้าที่ หน้าที่ ติ ทำงาน
เรียนรู้ ที่ได้ ที่ได้ หน้า
4.1.3 สนใจ รับให้ รับให้ ที่ที่
เข้าร่วม สำเร็จ สำเร็จ ได้รับ
กิจกรรมการ มีการ มีการ ให้
เรียนรู้ ปรับปรุง ปรับปรุ สำเร็
ต่างๆ และ งและ จมีการ
พัฒนาการ พัฒนากา ปรับป
ทำงาน รทำงาน รุงให้
ให้ดี ให้ดี ดีขึ้น
ขึ้นด้วย ขึ้น
ตนเอง
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของตนเองด้วยการพูดและ
การเขียน
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่าง
เรียน แล้วขีดเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับ
คะแนน
พฤติกรรมบ่งชี้
ล
ระดับคุณภาพ
เขียนสมการกำลัง
คะแนนรวม
ำ
ชื่อ-นามสกุล สองตัวแปรเดียวให้
ดั
ของผู้รับการ อยู่ในรูปทั่วไปได้
บ
ประเมิน อย่างถูกต้องและ
ท
ชัดเจน
ี่
3 2 1 0
ลงชื่อ......................................ผู้สอน
(
นายจิรยุทธิ์ เสมากูล)
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3
คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2
คะแนน หมายถึง ดี
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
หมายถึง ผ่าน
ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
หมายถึง ไม่ผ่าน
เกณฑ์การให้คะแนนเพื่อประเมินด้านทักษะการสื่อสาร
สื่อความหมาย และการนำเสนอ
ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมบ่ง
ดีเยี่ยม ผ่าน ไม่ผ่าน
ชี้ ดี (2)
(3) (1) (0)
1.การเขียน ใช้ภาษา ใช้ภาษา ใช้ ไม่ใช้
แสดงวิธีทำ และ และ ภาษา ภาษาและ
และการนำ สัญลักษ สัญลักษ และ สัญลักษ
เสนอใน ณ์ทาง ณ์ทาง สัญลัก ณ์ทาง
เรื่องความ คณิตศาสต คณิตศาส ษณ์ทาง คณิตศาส
สัมพันธ์ ร์ได้ถูก ตร์ได้ คณิตศา ตร์
และโดเมนและ ต้อง มี ถูกต้อง สตร์
เรนจ์ของ ราย แต่ขาด ได้ถูก
ความ ละเอียด ราย ต้อบาง
สัมพันธ์ได้ สมบูรณ์ ละเอียด ส่วน
อย่างถูก ชัดเจน และขาด
ต้องและ ราย
ชัดเจน ละเอีย
ด