Benkelman Beam Method - Jan2014

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

จุดประสงค์

 เพือหาการแอ่นตัว (Deflection) ของผิวทางแบบยืดหยุ่น


(Flexible Pavement) โดยใช้ เครืองมือมาตรฐานชุด Benkelman
Rebound Test
ทฤษฎี
 เมือรถวิง ทําให้ ผิวทางเกิดการแอ่นตัว (Deflection)
 การแอ่นแบบ Elastic Deformation ของถนน
 เป็ นการยุบตัวชัวคราว เมือมีนาหนั
ํ กล้ อกระทํา
 เมือนําหนักล้ อผ่านไป ผิวถนนก็กลับสภาพเดิม
 การทรุดตัวซําๆ ณ จุดใด ทําให้ ถนนล้ า (Fatigue) ทําให้ เกิดความ
เสียหายอืนๆตามมา
ทฤษฎี
 Deflection
 แปรผกผันกับความแข็งแรง
 มากแข็งแรงน้อย น้อยแข็งแรงมาก
 Deflection ยังขึนกับ
 หน่วยแรง (Stress) มาก แอ่นมาก
 ความเร็วล้ อ มาก แอ่นมาก
 ความหนาของโครงสร้ างถนน หนา แอ่นน้ อย
 อุณหภูมิ
ควบคุมไม่ได้ ในการทดสอบ ต้ องปรับแก้
 ความชืน
ทฤษฎี (ต่อ)
 อุณหภูมิ
 อุณหภูมิสงู แอสฟัลท์จะอ่อนตัว ค่าการแอ่นตัวสูง
 อุณหภูมิมาตรฐาน
 70°F (21°C) ประเทศอบอุ่น
 90°F (32.2°C) กรมทางหลวง
 95°F (35°C) กรมทางหลวง (ปั จจุบัน)
 ความชืน
 ดินคันทางชืนสูง ค่าการแอ่นตัวสูง
 การทรุดตัวในฤดูฝนสูงกว่าฤดูแล้ ง ดังนันควรวัดค่าในฤดู
ฝน
ทฤษฎี (ต่อ)
 ค่าการแอ่นตัว นําไปใช้ ในการทาง ดังนี
 ทราบความแข็งแรงของสายทาง เพือคาดคะเนหรือทํานายอายุ
ของทางสายนันๆ
 วางแผนซ่อมแซม ควรเริมซ่อมส่วนไหนก่อน
 คํานวณออกแบบ เพิมความแข็งแรงให้ สายทางเดิม เพือยืดอายุ
ใช้ งาน
 ใช้ ผวิ ทางเดิมเป็ นส่วนหนึงของผิวทางใหม่
 คํานวณเพิมความหนา (overlay) เพือให้ ค่าการทรุดตัว อยู่ในระดับ
ทียอมรับได้ (Allowable deflection)
เครื องมือและอุปกรณ์
 เครืองมือชุด Benkelman Beam ประกอบด้ วย คาน 2 ช่วง
 ช่วงหลัง
 ตังอยู่บนสองขา ปรับระดับได้ หิวคานช่วงหน้ าไว้ 2 จุด
 มีขดลวดแม่เหล็กสันสะเทือน (Buzzer) เพือลดความฝื ดของจุดสัมผัสต่างๆ
ในขณะทดลอง หรือเพือป้ องกันการชนของเจ้ าหน้ าทีขณะทําการทดลอง
เครื องมือและอุปกรณ์
 เครืองมือชุด Benkelman Beam ประกอบด้ วย คาน 2 ช่วง
 ช่วงหน้ า
 ปลายด้ านหนึงมีเดือยหยัง (Probe) ไว้ แตะจุดทดสอบเพือวัดการแอ่นตัว
 ปลายอีกด้ านหนึงมี Dial Gauge วัดค่าการทรุดตัว (ความละเอียด 0.001
นิว)
เครื องมือและอุปกรณ์ (ต่อ)
 รถบรรทุก 6 ล้ อ
 เพลาหน้ า 2 ล้ อ เพลาหลัง 4 ล้ อ (ล้ อคู่)
 นําหนักเพลาหลัง (Axial Load) 18,000 ปอนด์ (8,200 กิโลกรัม)
 ขนาดของยาง 10.0 x 20 PLY
 แรงดันลมยาง 80 PSI(lb/in2)
 ช่องว่างระหว่างแก้ มยางคู่ 25-40 มิลลิเมตร
เครื องมือและอุปกรณ์ (ต่อ)
 เทอร์โมมิเตอร์ 0°C - 100°C
 ค้ อนและเหล็กนํา (ใช้ เจาะรูวัดอุณหภูมิผิวถนน)
 อุปกรณ์วัดแรงดันยาง
 เทปวัดระยะทาง
 นาฬิ กาจับเวลา
 อุปกรณ์ประกอบอืนๆ เช่น สีสเปรย์ ขวดนํา
สรุป ปัจจัย ที ควบคุมในการทดสอบ
 ปัจจัยทีควบคุมได้
 นน.เพลาหลัง (Axle Load) 18000 lb
 แรงดันลมยาง 80 psi
 ขนาดหน้ ายาง 10x20 ply
 ความเร็วล้ อ เคลือนอย่างช้ าๆ
 ปัจจัยทีควบคุมไม่ได้ ต้ องปรับแก้
 อุณหภูมิ
 ความชืน
การวัดการแอ่ นตัว
 WASHO (Western Association of State Highway
เข็มไดอัลเกจชีตําแหน่งสูงสุด ก่อน
Officials) เริมหมุนกลับ

ทีมา: การวัดค่าการแอ่นตัวของถนนโดยเครืองมือ Benkelman Beam สํานักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท


การวัดการแอ่ นตัว
 DOH
การวัดการแอ่ นตัว
 Canadian Test

วัดการคืนตัวของการแอ่นตัว (Deflection Rebound) เนืองจากมีความ


จําเป็ นเพราะการวัดการแอ่นตัวโดยตรงในทางปฏิบตั ทิ าํ ได้ ลาํ บาก
ทีมา: การวัดค่าการแอ่นตัวของถนนโดยเครืองมือ Benkelman Beam สํานักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
เตรียมการทดสอบ
 วางแผนกันรถ เพือควบคุมการจราจร
 เลือกช่วงการทดสอบ
 จุดทดสอบแต่ละจุดห่างกันประมาณ 100 เมตร
 วัดความกว้ างของช่องจราจรและวัดระยะจากขอบทาง
 จากจุดเริมต้ น วัดระยะไป 2.70 เมตร และวัดระยะต่อไปอีก 9.15 เมตร
ความกว้างช่องจราจรและระยะห่างจากขอบทาง
ความกว้างช่องจราจร ระยะจากขอบถนน
ฟุต(เมตร) ฟตุ(เซนติเมตร)
≤9 (2.75) 1.5 (46)
10 (3.00) 2.0 (61)
11 (3.35) 2.5 (76)
≥12 (3.65) 3.0(95)

หมายเหตุ ถนน 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) ให้ ทดสอบสลับกันทุกๆ กิโลเมตร


ถนน 4 ช่องจราจร ให้ ทดสอบช่องจราจรช่องนอกสุด ทังสองทิศทาง
ตลอดเส้ นทาง
วิธีการทดลอง
 ถอยหลังรถเข้ ามาทีจุ ดทดสอบ
 สอดคาน Probe Beam
 ระหว่างล้ อคู่
 ให้ Beam Toe อยู่ตรง
กึงกลางล้ อคู่ (โดยไม่สมั ผัส
แก้ มยาง)
วิธีการทดลอง
 ปรับปลายคานด้ านหน้ า (toe) ให้ แตะพืน
 ปรับขาหลังให้ แตะพืน
 ปรับ Stem ของ Dial Gauge ให้ แตะ
คานด้ านล่าง มี clearance ตอนคลาย
ออกประมาณ 5 รอบ

Initial Reading
วิธีการทดลอง
 เปิ ดสวิทช์ออดสัญญาณ
(Buzzer)
 ในขณะเดียวกัน ทําการ
เจาะผิวถนน เพือวัด
อุณหภูมิ
วิธีการทดลอง (ต่อ)
 จดค่า Initial Reading เมือ
 อัตราการแอ่นตัวของผิวถนน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.001 นิวต่อนาที
 หรือ อ่านค่าเริมต้ นเมือสอด probe beam แล้ว 3 นาที
 เคลือนรถไปข้ างหน้ าช้ าๆ
 หยุดทีระยะ 2.70 เมตร จดค่า Intermediate Reading
 หยุดทีระยะ 9.15 เมตรจดค่า Final Reading
วิธีการทดลอง (ต่อ)
 ปิ ดสวิทช์ออดสัญญาณ
 จดอุณหภูมิของผิวถนนเมือสินสุดการทดลอง
 ตรวจสอบลมยางทุก 2-3 ชัวโมง ให้ คงความดันยาง 80 psi
การคํานวณ
1. X1 = I – F
X2 = I – Iint
2. CASE I ถ้ า X1 – X2 น้ อยกว่าหรือเท่ากับ 0.001”
เมือ XT = การแอ่นตัวจริง
CASE II ถ้ า X1 – X2 มากกว่า 0.001”
XA = 4 X1
XT = XA + 2.91Y
Y = 4(Iint– F) = 4(X1 – X2)

เมือ XA = การแอ่นตัวปรากฏ
การคํานวณ (ต่อ)
3. ปรับแก้ XT เนืองจากอุณหภูมิ จากกราฟ
4. นําค่า XT ทีปรับแก้ แล้ ว มาคํานวณหาค่าคืนตัวเฉลีย (Average Rebound Value)

X 
 X T

n
และค่าเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation)
2

x 
(X T  X)
n 1
5. คํานวณหาค่าการแอ่นตัว ซึงเป็ นตัวแทนพร้ อมปรับแก้ ความชืนด้ วยค่า Cm จากสูตร
X adj  ( X  2 x )Cm

Cm คือ Critecal Period Adjustment Factor


6. การปรับแก้ ความชืนด้ วยค่า Cm ค่า Cm ในฤดูฝน = 1 ในฤดูแล้ ง > 1
Allowable
Deflection

211..4
211
FLEXIBLE PAVEMENT RIGID PAVEMENT
ทีมา
 ณรงค์ กุลหลาบ ประมุข มณีศรี ปฏิบัติการวิศวกรรมการทาง ภาควิชาวิศวกรรม
โยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 การวัดค่าการแอ่นตัวของถนนโดยเครืองมือ Benkelman Beam สํานัก
วิเคราะห์วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท

You might also like