C5 Shear

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

แรงเฉือนและแรงดึงทแยง

ในการรับน้าหนักบรรทุกของคานจะท้าให้เกิดแรงภายในคือโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนดังแสดงในรูปที่
5.1 ในการออกแบบหน้าตัดคานมักพิจารณาการดัดก่อนเพื่อให้ได้ขนาดและเหล็กเสริมที่ต้องการเพื่อ
ต้านทานโมเมนต์ดัด จากนันจึงท้าการออกแบบรับแรงเฉือน

(ก) คานช่วงเดี่ยวรับน้าหนักบรรทุก

V
M

(ข) แรงภายในบนหน้าตัด A-A

รูปที่ 5.1 แรงภายในคานที่รับน้าหนักบรรทุก

การวิบัติเฉือน (Shear failure) ของคานคอนกรีตจะเกิดขึนอย่างกระทันหันโดยไม่มีการเตือน


ก่อนล่วงหน้า ดังนันในการออกแบบที่ดีคานจะถูกออกแบบมาให้วิบัติโดยการดัดก่อนการเฉือนเพื่อให้
องค์อาคารเกิดการวิบัติแบบเหนียว โดยอาจเกิดรอยร้าวและแอ่นตัวมากถ้ารับน้าหนักบรรทุกเกิน
แต่จะไม่หักออกจากกันดังเช่นในกรณีของการวิบัติเฉือน

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 101


หน่วยแรงในคาน
ณ. หน้าตัดคานใดๆที่รับโมเมนต์ดัด M และแรงเฉือน V จะเกิดหน่วยแรงตังฉาก f และหน่วยแรง
เฉือน v ค้านวณได้จาก
My
f  (5.1)
I
VQ
v  (5.2)
Ib

เมื่อ y  ระยะจากแกนสะเทินของหน้าตัด
Q  โมเมนต์ของพืนที่ซึ่งระนาบของหน่วยแรงเฉือนตัดผ่าน
I  โมเมนต์อินเนอร์เชียของหน้าตัด
หน่ ว ยแรงที่ต้า แหน่ ง ต่างๆบนคานจะขึ นกั บโมเมนต์ ดัด M และแรงเฉื อน V ซึ่ งมี ค่า แปร
เปลี่ยนไปโดยแสดงได้เป็นแผนภูมิโมเมนต์และแรงเฉือนดังในรูปที่ 5.2 และในแต่ละหน้าตัดยังมีการ
กระจายของหน่วยแรงตามสมการที่ (5.1) และ (5.2) อีกด้วย

+ M

แผนภูมิโมเมนต์ดัด หน่วยแรงดัด

+ V
-
แผนภูมิแรงเฉือน หน่วยแรงเฉือน
รูปที่ 5.2 แผนภูมิแรงภายในคานและการกระจายหน่วยแรง

จากสมการที่ (5.2) จะได้ว่าหน่วยแรงเฉือนมีค่าเป็นศูนย์ที่ขอบบนและล่างและมีค่ามากที่สุด


ที่แกนสะเทินโดยมีการกระจายเป็นรูปพาราโบลา ถ้าเราพิจารณาชินสี่เหลี่ ยมเล็กๆ (1) บนแกน
สะเทิน ดังในรูป ที่ 5.3(ข) จะมีเฉพาะหน่วยแรงเฉือนบนขอบทังสี่ ด้านโดยมีขนาดเท่ากันและทิศ
ทางตรงข้ามเพื่อให้ อ ยู่ในสมดุล สถาวะหน่ว ยแรงเฉือนล้ วน (Pure Shear) มีถูกหมุนไป 45o จะ
กลายเป็ น หน่ ว ยแรงดึ ง และหน่ ว ยแรงอั ด (รู ป ที่ 5.3(ค) ซึ่ ง หน่ ว ยแรงดึ ง ทแยงมุ ม (Diagonal
Tension) ท้าให้ เกิด การแตกร้าวของคอนกรีตซึ่ งมีก้าลังดึ งต่้า กว่า ก้าลั งอัด ดังนั นรอยร้า วจากการ
เฉือนล้วนจึงท้ามุม 45o

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 102


1
2

(ก)
v t=v v t2
t=–v t1
v
v f f 
v 1 2
v
t=–v 45o t1
v t=v v t2
(ข) (ค) (ง) (จ)

Tension trajectories
Compression trajectories
(ฉ)
รูปที่ 5.3 วิถขี องหน่วยแรง (Stress Trajectories) ในคาน
ส้าหรับชินส่วนอื่นที่ไม่ได้อยู่บนแกนสะเทินหรือขอบบนล่าง (2) จะมีทังหน่วยแรงเฉือนและ
หน่วยแรงจากการดัดดังแสดงในรูปที่ 5.3(ง) ซึ่งเราอาจหมุนให้เหลือเพียงหน่วยแรงดึงและอัดเรียกว่า
หน่วยแรงหลัก (Principal Stresses) ค้านวณตามวงกลมของมอร์ (รูปที่ 5.4)
f f2
t    v2 (5.3)
2 4

ทิศทางของหน่วยแรงหลักที่ท้ามุม  กับแกนคาน ค้านวณได้จาก


2v
tan 2  (5.4)
f

v v
t=v

v 1 v v t
90o 45o
45o
v v

(ก) หน่วยแรงเฉือนล้วนที่แกนสะเทิน

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 103


v v
(f,v)
v t
f  f 2 t
2 t
f
v v
(0,-v)
v v

(ข) หน่วยแรงและหน่วยแรงดึงบริเวณต่้ากว่าแกนสะเทิน
รูปที่ 5.4 การพิจารณาสภาวะหน่วยแรงโดยวงกลมมอร์
จากรูปที่ 5.4 เราสามารถสรุปได้ว่าหน่วยแรงดึงหลัก t ในแนวทแยงท้ามุม  กับแกนของคาน
จะมีขนาดอย่างน้อยสุดเท่ากับ v ในสภาวะการเฉือนล้วนโดยท้ามุม 45o กับแกนคาน (รูปที่ 5.4(ก))
เมื่อมีหน่วยแรงดึง f มากระท้าหน่วยแรงดึง t จะเพิ่มขึนแต่มุม  จะน้อยลงกว่า 45o ซึ่งหน่วยแรง
ตามแนวช่วงคานซึ่งมีสัดส่วนของหน่วยแรงเฉือนและหน่วยแรงดึงแตกต่างกันท้าให้มีผลต่อแนวของ
รอยร้าวเอียงดังแสดงในรูปที่ 5.5

รูปที่ 5.5 มุมของรอยร้าวที่จะเกิดในคานช่วงเดี่ยว

การแตกร้าวของคานที่ไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน
คอนกรีตซึ่งมีก้าลังดึงต่้าจะเกิดการแตกร้าวขึนเมื่อหน่วยแรงดึงมีค่าเกินก้าลังดึง ในคานคอนกรีตซึ่ง
รับน้าหนักบรรทุกนันหน่วยแรงดึงอาจเกิดจากแรงดึงโดยตรง, การดัด, การเฉือน, การบิด, หรือการ
ร่วมกระท้าของแรงเหล่านี ต้าแหน่งและทิศทางของรอยแตกร้าวจะขึนกับหน่วยแรงหลัก (Principal
stress) และมีชื่อเรียกต่างกันไปตามต้าแหน่งและลักษณะของรอยร้าวดังแสดงในรูปที่ 5.6

รอยร้าวเอียงท้ามุมประมาณ 45o ซึ่งมักจะอยู่บริเวณแกนสะเทินดังในรูป 5.6(ก) เรียกว่า รอย


ร้าวเอวเฉือน (Web-shear cracks) เกิดขึนเมื่อหน่วยแรงดึงทแยงที่เกิดขึนมีค่าถึงก้าลังดึงคอนกรีต
ในบางกรณีที่แรงเฉือนและโมเมนต์ดัดมีค่ามากที่บริเวณเดียวกัน จะเกิดรอยแยกแรงดึงจาก
การดัดก่อนจากนันจะขยายตามแนวเอียงตามทิศทางของหน่วยแรงดึง รอยร้าวลักษณะนีเรียกว่า
รอยร้าวดัดเฉือน (Flexural-shear cracks) ดังในรูปที่ 5.6(ข) โดย Web-shear crack จะเกิดขึน
ในบริเวณที่มีแรงเฉือนมากและโมเมนต์ดัดน้อยมักไม่ค่อยเกิดขึนใกล้จุดดัดกลับ (Inflection point)
ในคานต่อเนื่อง ส่วน Flexural-shear crack เป็นแบบที่พบได้ทั่วไป โดยจะเป็นรอยร้าวเอียงต่อจาก
รอยร้าวดิ่งจากการดัด

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 104


Web-shear crack Flexural crack

(ก) รอยร้าวเอวเฉือน (Web-shear cracks)

Flexural-shear crack Flexural crack

(ข) รอยร้าวดัดเฉือน (Flexural-shear cracks)


รูปที่ 5.6 ชนิดรอยแตกร้าวในคาน

ความต้านทานแรงเฉือนในคอนกรีตเสริมเหล็กดังแสดงในรูปที่ 5.7 เกิดขึนจากกลไกดังต่อไปนี


1. ความต้านทานแรงเฉือนของหน้าตัดคอนกรีตไม่แตกร้าว Vcz
2. การล็อคตัวระหว่างกันของมวลรวม Va ในแนวสัมผัสกับรอยร้าว และคล้ายกับแรงเสียดทาน
ระหว่างผิวคอนกรีตในแต่ละด้านของรอยร้าว
3. ความต้านทานของเหล็กเสริมหลักต่อแรงเฉือน Vd
4. ผลของความโค้งในคานลึก
5. ความต้านทานแรงเฉือนของเหล็กเสริมรับแรงเฉือน Vs จากเหล็กปลอก

Va = aggregate interlock (interface shear)

C
Vcz = shear
resistance
Arm

T
Vd = dowel force

รูปที่ 5.7 กลไกต้านทานแรงเฉือนในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 105


กาลังรับแรงเฉือนของคานไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน
จากการทดสอบก้าลังเฉือนในคานคอนกรีตไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือนจ้านวนมาก จะได้ผลดังในรูปที่
5.8 พบว่าก้าลังเฉือนระบุ (Nominal shear strength) สามารถค้านวณได้จาก
Vn  Vnd
 0.50  176  0.93 ก.ก./ซม.2 (5.5)
bd fc Mn fc

ตังแต่ปี 1963 ACI Code ยอมรับความสัมพันธ์ของสมการ (5.5) ว่าเป็นก้าลังเฉือนของคาน


ไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน ดังนันจึงนิยาม Vc เป็นก้าลังของคานคอนกรีตดังกล่าว โดยใช้ความกว้าง
ของเอวคาน bw แทน b จะได้ว่า
  V d
Vc   0.50 fc  176 w u  bw d  0.93 fc bw d (5.6)
 Mu 

ซึ่งก็คือสูตรโดยละเอียดที่ ACI และ ว.ส.ท. ใช้ในมาตรฐาน การใช้แรงเฉือนประลัย Vu และโมเมนต์


ประลัย Mu แทนที่จะเป็น Vn  Vu/ และ Mn  Mu/ มีความแตกต่างเล็กน้อย เพราะอัตราส่วน
Vu/Mu ยังคงเท่ากับ Vn/Mn อยู่โดยประมาณแม้ว่าแฟกเตอร์ลดก้าลัง  ของแรงเฉือนและโมเมนต์จะ
ต่างกัน อัตราส่วนเสริมเหล็ก w  As/(bwd) ที่ใช้ในสูตรของ ACI ซึ่ง bw จะเป็นความกว้างของเอว
คานส้าหรับหน้าตัดตัว T แทนที่จะเป็นความกว้างของปีกคาน

1.50
Vn
b d fc
1.25
ก.ก./ซม.2
1.00 0.93

0.75

0.50 Vn Vn d
 0.50  176   0.93 ก.ก./ซม.2
b d fc Mn fc
0.25
Inverse scale

0 0.002 0.004 0.006 0.008 0.010 0.02 0.05 


 Vn d
70
M n fc

รูปที่ 5.8 ก้าลังต้านทานแรงเฉือนของคานคอนกรีตไม่เสริมเหล็ก


สมการ (5.6) จะเหมาะสมส้าหรับการออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์หรือในงานวิจัย แต่ส้าหรับ
การค้านวณด้วยมือแล้วจะท้าได้ล้าบากเพราะค่า w, Vu และ Mu จะมีค่าไม่คงที่ตลอดช่วงคาน ท้า
ให้ต้องค้านวณ Vc เป็นช่วงๆดังนัน ACI จึงยอมให้ใช้สูตรที่ง่ายกว่าคือ
Vc  0.53 fc bw d (5.7)

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 106


ส้าหรับองค์อาคารที่มีแรงอัดตามแนวแกนร่วมด้วย:
 N 
Vc  0.53  1  0.0071 u  fc b w d (5.8)
 Ag 

ส้าหรับองค์อาคารที่มีแรงดึงตามแนวแกนร่วมด้วย:
 N 
Vc  0.53  1  0.029 u  fc b w d (5.9)
 Ag 

เมื่อ Nu คือแรงประลัยตามแนวแกน (มีค่าเป็นลบเมื่อเป็นแรงดึง) (ก.ก.)


Ag คือพืนที่หน้าตัดทังหมดของคาน (bwh) (ซม.2)

กาลังเฉือนของคานเสริมเหล็กรับแรงเฉือน
โดยทั่ว ไปแล้ ว การเสริ มเหล็ กรับแรงเฉือนจะใช้เหล็ กปลอกในแนวดิ่งหรือเหล็ กลู กตัง (Vertical
stirrup) วางเป็นระยะตามแนวคานขึนกับก้าลังที่ต้องการดังแสดงในรูปที่ 5.9(ก) เหล็กที่ใช้จะเป็น
ขนาดเล็กอยู่ระหว่าง 6-12 ม.ม.และมักจะใช้เป็นปลอกปิดดังในรูปที่ 5.9(ข) โดยจะพันรอบเหล็ก
เสริมเหล็กในแนวนอนท้าให้ต้องมีเหล็กนอนอยู่ที่มุมทังสี่เสมอเพื่อยึดเหล็กปลอกให้อยู่ในต้าแหน่งที่
ต้องการ

(ก)

(ข)
รูปที่ 5.9 การใช้เหล็กปลอกตังเพื่อต้านทานแรงเฉือน
ก้าลังเฉือนทังหมดของคานที่มีการเสริมเหล็กรับแรงเฉือน Vn จะมาจากคอนกรีต Vc ส่วนหนึ่งและ
อีกส่วนมาจากการเสริมเหล็กรับแรงเฉือน Vs :
Vn  Vc  Vs (5.10)

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 107


การพิจารณาก้าลังเฉือนของเหล็กปลอกดิ่งระยะห่าง s ท้าโดยสมมุติว่ารอยร้าวจากการเฉือนเอียงท้า
มุม 45o จะถูกต้านทานโดยเหล็กปลอกจ้านวน n  d/s ดังแสดงในรูปที่ 5.10

s s s
d

d
Av  2As

รูปที่ 5.10 ก้าลังเฉือน Vs จากเหล็กรับแรงเฉือน


เมื่อหน้าตัดคานวิบัติโดยการเฉือน เหล็กทุกเส้นในแนวดิ่งจะถูกเฉือนขาดหมด ดังในรูปที่ 5.10
ก้าลังเฉือนจะได้จากเหล็กทุกปลอกในรอยร้าวเอียง
Av fy d
Vs  Av fy n  (5.11)
s
ในการพิจารณาพืนที่รับแรงเฉือน Av ของแต่ละปลอก จะคิดพืนทีต่ ามจ้านวนเหล็กปลอกในแนวดิ่ง
ที่ถูกระนาบเฉือนตัดผ่านโดยทั่วไปถ้าเป็นปลอกเดี่ยวดังในรูปที่ 5.11(ก) จะคิดสองเส้นคือ Av  2As
เรียกว่า สองขา หรือถ้ามี 2 ปลอกจะมี สี่ขา พืนที่ Av  4As เมื่อ As คือพืนที่หน้าตัดเหล็กปลอก 1
เส้น

(ก) ปลอกเดี่ยว Av  2As (ข) 2 ปลอก Av  4As


รูปที่ 5.11 พืนที่เหล็กเสริมรับแรงเฉือน

ขีดจากัดของปริมาณเหล็กรับแรงเฉือน
เหล็กรับแรงเฉือนน้อยที่สดุ
ปริมาณของเหล็กรับแรงเฉือนต้องไม่มากหรือน้อยจนเกินไปเพื่อให้มั่นใจจะเกิดการครากของเหล็ก
เมื่อถึงก้าลังเฉือนวิบัติ ACI Code ต้องการให้ปริมาณเหล็กรับแรงเฉือนน้อยที่สุดเท่ากับ
bw s b s
min Av  0.2 fc  3.5 w (5.12)
fy fy

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 108


เมื่อ bw คือความกว้างเอวคาน และ s คือระยะห่างเหล็กปลอก ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนน้อย
ที่สุดนันต้องใช้เมื่อ Vu มีค่าเกิน  V / 2 ยกเว้นในกรณีของ
c

 พืนและฐานราก
 พืนคอนกรีตระบบตง(Floor joist construction)
 คานซึ่งมีความลึกไม่เกิน 25 ซม., 2.5 เท่าความหนาปีกส้าหรับคานรูปตัว T, หรือ ครึ่งหนึ่งของ
ความกว้างเอว, เลือกค่าที่มากกว่า
จากสมการ (5.12) จะเห็ น ว่ า ถ้ า 0.2 fc  3.5 จะได้ f   306 ก.ก./ซม. 2 นั่ น คื อ เมื่ อ
c

f   306 ก.ก./ซม. 2 ค่ า min Av  3.5bws / fy จะควบคุ ม ส้ า หรั บ คอนกรี ต ก้ า ลั ง ปกติ และเมื่ อ


c

f   306 ก.ก./ซม.2 ค่า minAv  0.2 fc (bws / fy ) จะควบคุมส้าหรับคอนกรีตก้าลังสูง


c

ในทางปฏิบัตินันเราจะเพิ่มความหนาพืน, ฐานราก, หรือคานตืน เพื่อเพิ่มก้าลังเฉือนขององค์


อาคาร การใช้เหล็กปลอกอาจไม่มีประสิทธิภาพในหน้าตัดที่ไม่ลึกพอ เนื่องจากพืนที่รับแรงอัดมีความ
ลึกน้อยจนไม่เพียงพอให้เกิดการยึดเหนี่ยวกับเหล็กปลอก
โดยทั่วไปเรามักเลือกเหล็กปลอกเป็น RB9 หรือ DB10 เป็นแบบปลอกปิด (สองขา Av =
2As) ท้าให้ได้ค่า Av คงที่ไม่สะดวกต่อก้าหนดเปลี่ยนแปลงในการออกแบบ การเลือกเหล็กเสริมรับ
แรงเฉือนจึงมักท้าโดยการก้าหนดระยะห่างระหว่างปลอก เช่นในกรณีของปริมาณเหล็กน้อยที่สุด
เมื่อน้าสมการ (5.12) มาจัดรูปใหม่จะได้สมการส้าหรับระยะห่างมากที่สุด smax คือ
A v fy A v fy
smax   (5.13)
0.2 fc bw 3.5bw

เหล็กรับแรงเฉือนมากที่สดุ
เพื่อป้องกันการวิบัติแบบ shear-compression ซึ่งคอนกรีตจะถูกบดอัดจนพังทลายด้วยแรงอัดที่
บริเวณวิกฤตที่ส่วนบนของรอยร้าวทแยง ACI ก้าหนดให้ Vs ต้องมีค่าไม่เกิน 2.1 fc bwd ถ้าเกิน
ต้องเพิ่มขนาดหน้าตัดเพื่อให้ V  V /   V มีค่าน้อยลงจนไม่เกินขีดจ้ากัด
s u c

ระยะห่างเหล็กปลอกมากที่สุด
นอกจากค่า smax ที่ค้านวณจากสมการ (5.13) แล้ว ACI ยังก้าหนดค่าระยะห่างเหล็กปลอกมาก
ที่สุด smax = d/2 และไม่น้ อยกว่า 60 ซม. และเมื่อ Vs มีค่าเกิน 1.1 fc bwd ให้ลดค่า smax นีลง
ครึ่งหนึ่ง ดังนัน

 เมื่อ Vs  1.1 fc bw d ให้ใช้ค่า smax  d / 2  60 ซม.

 เมื่อ 1.1 fc bw d  Vs  2.1 fc bw d ให้ใช้ค่า smax  d / 4  30 ซม.

 เมื่อ Vs  2.1 fc bw d ให้เพิ่มขนาดหน้าตัด

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 109


หน้าตัดวิกฤตสาหรับออกแบบรับแรงเฉือน
ในคานทั่วไปซึ่งรับน้าหนักแผ่ดังในรูปที่ 5.12(ก) รอยแตกร้าวจากการเฉือนจะเกิดขึนที่บริเวณจุด
รองรับเอียงท้ามุมประมาณ 45o น้าหนักบรรทุกที่อยู่ภายในระยะ d จากผิวเสาที่รองรับจะถูกถ่ายลง
เสารองรับโดยตรงจึงไม่มีผลต่อการรับแรงเฉือนในคาน ดังนัน ACI จึงก้าหนดให้ใช้ค่าแรงเฉือน Vu
ที่ระยะ d จากจุดรองรับเป็นค่าวิกฤตที่จะใช้ในการค้านวณออกแบบ แผนภูมิแรงเฉือนจึงมีลักษณะ
ดังในรูป 5.12(ข) และในรูปที่ 5.13 แสดงกรณีอื่นซึ่งมีต้าแหน่งวิกฤตส้าหรับแรงเฉือนที่ต่างกันไป

(ก) การแตกร้าวจากการเฉือนในคาน
d d

d d

(ข) แผนภูมิแรงเฉือน
รูปที่ 5.12 แรงเฉือนประลัย Vu ที่ใช้ในการออกแบบ
d d
หน้าตัดวิกฤต

Vu
Vu Vu

(ก) คานรับน้าหนักด้านล่าง (ข) จุดต่อเสา-คาน

หน้าตัดวิกฤต

Vu

Vu
d
หน้าตัดวิกฤต
(ง) คานที่มีน้าหนักกระท้า
(ค) คานรองรับโดยแรงดึง เป็นจุดใกล้ที่รองรับ
รูปที่ 5.13 หน้าตัดวิกฤตส้าหรับออกแบบการเฉือนแบบต่างๆ
RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 110
แรงเฉือนที่กลางช่วงของคานรับนาหนักแผ่
ในอาคารปกติน้าหนักบรรทุกคงที่และน้าหนักบรรทุกจรจะถูกสมมุติเป็นน้าหนักแผ่คงที่ น้าหนัก
บรรทุกคงที่ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะแผ่ลงตลอดทังช่วงคาน แต่น้าหนักจรนันอาจแผ่เต็มช่วงดังใน
รูปที่ 5.14(ก) ซึ่งจะท้าให้ค่าแรงเฉือนที่ปลายมีค่ามากที่สุด หรืออาจแผ่ครึ่งช่วงดังในรูปที่ 5.14(ข) ซึ่ง
จะให้ แรงเฉือนที่กลางช่วงมากที่สุ ด ส่ว นแรงเฉือนที่หน้าตั ดอื่นจะประมาณโดยใช้ shear force
envelope ดังในรูป 5.14(ค)

แรงเฉือนที่กลางช่วงคานเนื่องจากน้าหนักจรครึ่งช่วงคานคือ
wLuL
Vu,midspan  (5.14)
8
wu L
Vu 
LL full span 2
DL full span

Max. shear @ ends


(ก) น้าหนักคงที่และน้าหนักจรเต็มช่วงคาน

wLu L
LL half span Vu 
DL full span 8

Max. shear @ midspan


(ข) น้าหนักคงที่เต็มช่วงและน้าหนักจรครึ่งช่วงคาน
wu L
Vu 
2
wLu L
Vu 
(ค) Shear force envelope 8

รูปที่ 5.14 การพิจารณาการรับน้าหนักของคานเพื่อออกแบบแรงเฉือน

ขันตอนการออกแบบเพื่อรับแรงเฉือน
ในการออกแบบหน้าตัดรับแรงเฉือนเพื่อให้มีก้าลังเฉือนเพียงพอเพื่อรับแรงเฉือนประลัยที่เกิดขึนคือ
 Vn  Vu (5.15)

เมื่อตัวคูณลดก้าลัง  ส้าหรับการเฉือนคือ 0.85 มีขันตอนดังนี


1. พิจารณาหน้าตัดวิกฤตและค้านวณแรงเฉือนประลัย Vu โดยปกติจะใช้ที่ค่าที่ระยะ d จากผิวของ
จุดรองรับ หรือพิจารณาจาก shear force envelope ค้านวณก้าลังเฉือน Vn ที่ต้องการคือ

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 111


Vn  Vu /  (5.16)

2. ค้านวณก้าลังเฉือนคอนกรีต ส่วนใหญ่จะใช้สูตรอย่างง่ายคือ
Vc  0.53 fc bw d (5.17)

3. ค้านวณก้าลังเฉือนที่ต้องการจากเหล็กปลอก
Vs  Vn  Vc (5.18)

4. ตรวจสอบก้าลังเฉือนมากที่สุด ว่าหน้าตัดมีขนาดจะรับได้หรือไม่?
Vs  2.1 fc bw d (5.19)

5. เลือกเหล็กปลอก (Av) เพื่อค้านวณระยะห่าง s ที่ต้องการ


A v fy d
s  (5.20)
Vs

6. ระยะห่างเหล็กปลอกมากที่สุดจากปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนน้อยที่สุด
A v fy A v fy
smax   (5.21)
0.2 fc bw 3.5bw

7. ระยะห่างเหล็กปลอกมากที่สุดตามค่า Vs
 เมื่อ Vs  1.1 fc bw d ให้ใช้ค่า smax  d / 2  60 ซม.

 เมื่อ 1.1 fc bw d  Vs  2.1 fc bw d ให้ใช้ค่า smax  d / 4  30 ซม.

ตั วอย่า งที่ 5.1 ออกแบบเหล็ กปลอกรับแรงเฉือนในคานช่ว งเดี่ ยวดังแสดงในรู ปที่ 5.15 ก้าลั ง
คอนกรีต f  = 280 ก.ก./ซม.2 ใช้เหล็กปลอก DB10 ก้าลังเหล็กเสริมรับการดัด 4,000 ก.ก./ซม.2
c

PL = 5 tons PL = 5 tons
PD = 2 tons PD = 2 tons
d = 53 cm

wL = 3 t/m
A wD = 2 t/m

A
40 cm
2.5 m 4.0 m 2.5 m Section A-A

รูปที่ 5.15 คานช่วงเดี่ยวและหน้าตัดส้าหรับตัวอย่างที่ 5.1


วิธีทา
1. คานวณแรงเฉือนประลัย
น้าหนักแผ่ประลัย wu  1.4(2)  1.7(3)  7.9 ตัน/เมตร

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 112


น้าหนักประลัย Pu  1.4(2)  1.7(5)  11.3 ตัน
เขียนแผนภูมิแรงเฉือนดังแสดงในรูปที่ 5.16
สมมุติความกว้างเสาที่จุดรองรับกว้าง 30 ซม. ค้านวณแรงเฉือนที่ระยะ d จากผิวจุดรองรับ
Vu /  ที่ระยะ d  (46.85  7.9(0.15  0.53))/0.85  48.80 ตัน
46.85 ton
Vu
wu = 7.9 t/m
27.1 ton

15.8 ton
4m 2.5 m

2.5 m
-15.8 ton
-27.1 ton

รูปที่ 5.16 แผนภูมิแรงเฉือนส้าหรับตัวอย่างที่ 5.1 -46.85 ton

2. คานวณกาลังเฉือนคอนกรีต Vc
Vc  0.53 fc bw d  0.53 280  40  53 / 1,000  18.80 ตัน
3. คานวณกาลังเฉือนที่ต้องการจากเหล็กปลอก Vs
Vs  Vu /   Vc  48.80  18.80  30.00 ตัน
4. คานวณกาลังเฉือน Vs มากที่สุด ว่าหน้าตัดมีขนาดเพียงพอหรือไม่?
Vs,max  2.1 fc bw d  2.1 280  40  53 / 1,000  74.50 ตัน
เนื่องจาก Vs ที่ต้องการที่ระยะ d  30.00 ตัน มีค่าไม่เกิน Vs, max  74.50 ตัน
ดังนันหน้าตัดมีขนาดเพียงพอ
ตรวจสอบ 1.1 fc bw d  1.1 280  40  53 / 1,000  39.02 ตัน  Vs

ดังนัน smax  d/2  53/2  26.5 ซม.  60 ซม. smax  26 ซม.

5. คานวณระยะห่างเหล็กปลอกที่ต้องการ
ลองใช้ DB10 ปลอกปิด(สองขา) Av = 2(0.785) = 1.57 ซม.2 และ fy = 4,000 ก.ก./ซม.2

ระยะห่างเหล็กปลอกที่ต้องการที่ระยะ d จากผิวของจุดรองรับคือ
Av fy d 1.57  4.0  53
s    11 ซม.
Vs 30.00

ดังนันเลือกใช้เหล็กปลอก DB10 @ 0.11 ม. ที่ระยะ d จากผิวจุดรองรับ

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 113


6. คานวณระยะห่างเหล็กปลอกมากที่สุด ตามปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนน้อยที่สุด
A v fy 1.57  4,000
smax    47 ซม.
0.2 fc bw 0.2 280  40

Av fy 1.57  4,000
และ smax    45 ซม. smax  45 ซม.
3.5bw 3.5  40

ดังนัน DB10 @ 0.11 ม. ที่เลือกไว้ใช้ได้ แต่ค่อนข้างถี่จึงควรเพิ่มระยะขึน เมื่อแรงเฉือนที่มา


กระท้าลดลงส้าหรับหน้าตัดที่อยู่ห่างมากกว่าระยะ d จากผิวจุดรองรับ
7. ออกแบบเหล็กปลอกสาหรับระยะ x  2.5 เมตร Vu/  15.8/0.85  18.6 ตัน
เนื่องจากค่าก้าลังเฉือนที่ต้องการ Vu/ = 18.6 ตัน น้อยกว่าก้าลังเฉือนคอนกรีต Vc = 18.8 ตัน
ดังนันใช้ปริมาณเหล็กน้อยที่สุดหรือ smax ที่ควบคุมคือ d/2 = 53/2 = 26.5 ซม.
เลือกใช้เหล็กปลอก [email protected]

[email protected] [email protected] [email protected]

2.5 m 3.7 m 2.5 m

รูปที่ 5.17 การจัดวางเหล็กปลอกรับแรงเฉือนส้าหรับตัวอย่างที่ 5.1

ตัวอย่างที่ 5.2 คานช่วงเดี่ยวในรูปที่ 5.18 รองรับน้าหนักคงที่ 2 ตัน/เมตร (รวมน้าหนักตัวเอง)


และน้าหนักจร 2.5 ตัน/เมตร ให้ออกแบบเหล็กปลอกส้าหรับคานนี ก้าลังคอนกรีต f  = 250 ก.ก./ c

ซม.2 ก้าลังเหล็กเสริมรับการดัด 4,000 ก.ก./ซม.2


DL = 2 t/m
LL = 2.5 t/m
d = 64 cm

L = 10 m
30 cm

รูปที่ 5.18 คานช่วงเดี่ยวและหน้าตัดส้าหรับตัวอย่างที่ 5.2


วิธีทา
1. คานวณ shear force envelope สาหรับออกแบบการเฉือน
น้าหนักประลัยทังหมด wu = 1.4(2) + 1.7(2.5) = 7.05 ตัน/เมตร
RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 114
น้าหนักจรประลัย wLu = 1.7(2.5) = 4.25 ตัน/เมตร
แรงเฉือนประลัยที่ปลายคาน wuL/2 = 7.05(10)/2 = 35.25 ตัน
แรงเฉือนประลัยที่กลางช่วงคาน wLuL/8 = 4.25(10)/8 = 5.31 ตัน
เนื่องจากคานรับน้าหนักบนหลังคานและจุดรองรับอยู่ด้านล่าง สมมุติจุดรองรับกว้าง 40 ซม.
หน้าตัดวิกฤตอยู่ที่ระยะ d = 64 ซม. จากผิวจุดรองรับ แรงเฉือนมีค่าเท่ากับ
Vu/ ที่ระยะ d = 41.47 – (0.84/5)(41.47 – 6.25) = 35.55 ตัน
35.25/0.85 = 41.47 ton

5.31/0.85 = 6.25 ton

รูปที่ 5.19 shear force envelope Vu/

2. คานวณกาลังเฉือนคอนกรีต Vc
Vc  0.53 fc bw d  0.53 250  30  64 / 1,000  16.09 ตัน
เขียนแรงเฉือนที่หน้าตัดวิกฤตและก้าลังเฉือนคอนกรีตลงใน shear force envelope พืนที่ส่วน
ที่เกิน Vc ขึนมาคือ Vs คือส่วนที่ต้องการเหล็กปลอกมาช่วยรับแรงเฉือน บางช่วงของคานแม้ไม่
ต้องการ Vs ก็ยังคงต้องใส่เหล็กปลอกในปริมาณน้อยที่สุด ดังแสดงในรูปที่ 5.20
41.47 t 84 cm Critical section
35.55 t
Required Vs

6.09 t
Vu /

Vc 8.05 t
.5Vc 6.25 t

Support Midspan

รูปที่ 5.20 แผนภูมิแรงเฉือนที่ใช้ในการออกแบบ


3. คานวณกาลังเฉือนที่ต้องการจากเหล็กปลอก Vs
Vs  Vu /   Vc  35.55  16.09  19.46 ตัน
4. คานวณกาลังเฉือน Vs มากที่สุด ว่าหน้าตัดมีขนาดเพียงพอหรือไม่?

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 115


Vs,max  2.1 fc bw d  2.1 250  30  64 / 1,000  63.75 ตัน
เนื่องจาก Vs ที่ต้องการที่ระยะ d = 19.46 ตัน มีค่าไม่เกิน Vs, max = 63.75 ตัน
ดังนันหน้าตัดมีขนาดเพียงพอ
ตรวจสอบ 1.1 fc bw d  1.1 250  30  64 / 1,000  33.39 ตัน > Vs

เนื่องจาก Vs  1.1 fc bw d ดังนัน smax = d/2 = 64/2 = 32 ซม. < 60 ซม.

5. คานวณระยะห่างเหล็กปลอกที่ต้องการ
ลองใช้ RB9 ปลอกปิด(สองขา) Av = 2(0.636) = 1.27 ซม.2 และ fy = 2,400 ก.ก./ซม.2
ระยะห่างเหล็กปลอกที่ต้องการที่ระยะ d จากผิวของจุดรองรับคือ
Av fy d 1.27  2.4  64
s    10.02 ซม.
Vs 19.46

ดังนันเลือกใช้เหล็กปลอก RB9 @ 0.10 ม. ที่ระยะ d จากผิวจุดรองรับ


6. คานวณระยะห่างเหล็กปลอกมากที่สุด จากปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนน้อยที่สุด
A v fy 1.27  2,400
smax    32 ซม.
0.2 fc bw 0.2 250  30

Av fy 1.27  2,400
และ smax    29 ซม. smax  29 ซม.
3.5bw 3.5  30

ดังนัน RB9 @ 0.10 ม. ที่เลือกไว้ใช้ได้ แต่ค่อนข้างถี่จึงควรเพิ่มระยะขึนเป็น 15 ซม. เมื่อแรง


เฉือนที่มากระท้าลดลงส้าหรับหน้าตัดที่อยู่ห่างมากกว่าระยะ d จากผิวจุดรองรับ
7. คานวณค่า Vu/ และระยะที่จะใช้เหล็กปลอก RB9 @ 0.15 ม.
Vu A f d 1.27  2.4  64
 v y  Vc   16.09  29.1 ตัน
 s 15

41.47 ton พิจารณาต้าแหน่งที่ Vu/ = 29.1 ตัน


29.1 ton
จากรูปที่ 5.19 ใช้กฎสามเหลี่ยมคล้าย
6.25 ton 41.47  29.1
x   500
41.47  6.25
x
500 cm  176 ซม.จากจุดรองรับ
บริเวณกลางช่วงคานแรงเฉือนมีค่าน้อย เราอาจเพิ่มระยะห่างเหล็กปลอกได้จนถึง smax = 29 ซม.
Vu A f d 1.27  2.4  64
 v y  Vc   16.09  22.8 ตัน
 s 29
41.47  22.8
x   500  265 ซม. จากจุดรองรับ
41.47  6.25

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 116


8. จัดวางเหล็กปลอกตามตาแหน่งที่คานวณมา
โดยอาจจัดวางตามระยะที่ค้านวณได้ หรือพิจารณาโดยละเอียดทีละปลอกและระยะตามจริง เช่น
ก้าหนดให้ปลอกแรกเริ่มที่ระยะ 1 ซม. จากผิวจุดรองรับ แล้วค้านวณระยะที่ใช้จริงตามระยะห่าง
ระหว่างปลอกไปจนถึงระยะที่ค้านวณได้โดยอาจเกินไปเล็กน้อยดังนี
RB9 @ 0.10 ม. : 20  1  16@10  181 ซม.  176 ซม. OK

RB9 @ 0.15 ม. : 181  6@15  271 ซม.  265 ซม. OK

RB9 @ 0.29 ม. : 271  7@29  474 ซม.

s = 15 cm @ s = 29 cm @
x = 140 cm x = 239 cm

[email protected] [email protected] [email protected]

20 cm 11@11 cm 7@15 cm 8@29 cm


1 cm
500 cm
Support Midspan

รูปที่ 5.21 การใส่เหล็กปลอกในตัวอย่างที่ 5.2

ปัญหาท้ายบทที่ 5
5.1 คานช่วงเดี่ยวมีระยะช่วงยาว ln = 6.7 ม. รองรับน้าหนักบรรทุกแผ่คงที่ wD = 1.6 ตัน/ม. และ
น้าหนักจร wL = 1.2 ตัน/ม. จงค้านวณแรงเฉือนประลัยที่หน้าตัดวิกฤต Vu และออกแบบ
ขนาดและระยะห่างเหล็กปลอกโดยใช้เหล็ก SR24 (fy = 2,400 ก.ก./ซม.2) หรือ SD40 (fy
= 4,000 ก.ก./ซม.2) ก้าหนด: bw = 30 ซม. d = 43 ซม. และ f  = 280 ก.ก./ซม.2
c

5.2 คานยื่นรองรับน้าหนักบรรทุกจรกระท้าเป็นจุด 10 ตัน กระท้าที่ระยะ 1 เมตรจากจุดรองรับ


ถ้าหน้ าตัดคานคือ 30 ซม. 50 ซม. ความลึ กประสิ ทธิผ ล d = 43 ซม. จงออกแบบเหล็ ก
ปลอกที่ต้องการ ก้าหนด f  = 210 ก.ก./ซม.2 และ fy = 4,000 ก.ก./ซม.2
c

5.3 ช่วงคานแรกของคานต่อเนื่องมีระยะช่วงหักความกว้างเสา ln = 5.7 เมตร รองรับน้าหนัก


บรรทุกจรแผ่ wL = 2.6 ตัน/ม. และน้าหนักคงที่ wD = 3.2 ตัน /ม. ไม่รวมน้าหนักคาน จง
ออกแบบหน้าตัดเพื่อรองรับการดัดและแรงเฉือน สมมุติคานกว้าง bw = 40 ซม. ก้าหนด f  = c

240 ก.ก./ซม.2 และ fy = 4,000 ก.ก./ซม.2

5.4 คานต่อเนื่องสองช่วงมีระยะช่วงเท่ากัน ln = 5.7 ม. รองรับน้าหนักบรรทุกคงที่ wD = 4 ตัน/ม.


น้าหนักบรรทุกจร wL = 1.2 ตัน/ม. น้าหนักคงที่กระท้าเป็นจุด PD = 7 ตัน น้าหนักจร PL =

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 117


10 ตันกระท้าที่กลางช่วงคาน จงออกแบบขนาดหน้าตัดและเหล็กปลอก ก้าหนด fc = 280
กก./ซม.2 และ fy = 4,000 กก./ซม.2
5.5 จงออกแบบเหล็กปลอกส้าหรับคานที่มีแผนภูมิแรงเฉือนดังรูปข้างล่าง ก้าหนด : bw = 30 ซม.
d = 53 ซม. Vu1 = 30 ตัน Vu2 = 24 ตัน Vu3 = 20 ตัน f  = 280 ก.ก./ซม.2 และ fy = 4,000
c

ก.ก./ซม.2
Vu Beam CL

Vu
Vu

 Vc

.5 m

5.6 ส้าหรับส่วนหนึ่งของคานต่อเนื่องดังแสดงในรูปข้างล่าง โดยก้าหนดแผนภูมิแรงเฉือนประลัย


Vu มาให้ จงพิ จารณาระยะห่า งของเหล็ กปลอก DB10 ก้า หนด: bw = 30 ซม. d = 53 ซม .
ความกว้างจุดรองรับ 30 ซม. ครึ่งช่วงคาน = 2.7 ม. Vu ที่จุดรองรับ = 24 ตัน Vu ที่กลางช่วง
คาน = 8 ตัน f  = 240 ก.ก./ซม.2 และ fy = 4,000 ก.ก./ซม.2
c

d= cm

cm
m

CL of span

Vu
t

5.7 ส้ า หรั บ คานช่ว งเดี่ ย วดัง ในรูป ข้า งล่ า ง ระยะช่ว งคานหั กความกว้า งจุด รองรั บ 9.7 เมตร
น้ า หนั ก บรรทุ ก คงที่ แ บบแผ่ 3.2 ตั น /ม . (รวมน้ า หนั ก คาน) และน้ า หนั ก จร 5 ตั น /ม . จง
ออกแบบเหล็ ก ปลอกเพื่อ รองรั บแรงเฉือ นในคาน ก้ า หนด : f  = 240 กก./ซม.2 และ fy =
c

4,000 กก./ซม.2

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 118


d cm

cm

5.8 คานดังแสดงในรูปข้างล่าง รองรับน้าหนักบรรทุกคงที่ 5 ตัน/ม. (รวมน้าหนักคาน) และน้าหนัก


บรรทุกจร 7.2 ตัน/ม. จงออกแบบเหล็กปลอกเพื่อต้านทานการเฉือน ก้าหนด: f  = 240 ก.ก./
c

ซม.2 และ fy = 4,000 ก.ก./ซม.2


.5 m

cm

cm
cm
m m

RC SDM 5  Shear By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 119

You might also like