A04 Stair1 PDF

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 28

SAP2000 RC Applications:

Stairs 4
ในตัวอย่างนี้จะทาการวิเคราะห์และออกแบบบันไดพาดช่วงยาวจากพื้นชั้นหนึ่งที่ระดับ +0.20 ม. ถึง
ชั้นสองที่ระดับ +3.70 ม. เพื่อรับน้าหนักบรรทุกจร 400 ก.ก./ตร.ม. ชานพักกว้าง 1.5 เมตรอยู่ที่
กลางชั้น กาหนด f  = 240 ก.ก./ตร.ซม. fy = 4,000 ก.ก./ตร.ซม.
c

พิจารณาขนาดและจานวนขั้นบันได
ความสูงจากระดับชั้นหนึ่งถึงชานพัก  (3.70 – 0.20) / 2  1.75 เมตร
ใช้บันได 8 ขั้น ความสูงขั้นบันได  175 / 8  21.9 ซม.
ใช้ความกว้างขั้นบันได 25 ซม. + จมูก 3 ซม.
ระยะในแนวราบ  0.25  8  2.00 เมตร
 = 2.00 ม ม
ระดับชั้นสอง +3.70

ชานพัก +1.95

 = 2.00 ม ม
ชานพัก +1.95

ระดับชั้นหนึ่ง +0.20

คานวณออกแบบบันได
1. น้าหนักบรรทุกและโมเมนต์ดัด

พื้นบันไดหนา (200+150)/20  17.5 ซม. เลือก 18 ซม.


SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 45
ความลึก d  18 – 2 – 1.0/2  15.5 ซม.
น้าหนักพื้นบันได  (0.18)(2,400) 21.92  252 / 25  574 ก.ก./ ม.2
น้าหนักขั้นบันได  (0.5)(0.219)(2,400)  263 ก.ก./ ม.2
น้าหนักจร  400 ก.ก./ ม.2
น้าหนักประลัย wu  1.4(574 + 263) + 1.7(400)  1,852 ก.ก./ ม.2
2. พิจารณาปริมาณเหล็กเสริม
จากกาลังของคอนกรีตและเหล็กเสริม (ตารางที่ ก.3) max  0.0197

โมเมนต์บวกบนคานช่วงเดี่ยว Mu  1,852  3.52 / 8  2,836 ก.ก.-ม.


Mu 2,836(100)
Rn    13.12 ก.ก./ซม.2
 bd2
0.90(100)(15.5)2

0.85 fc  2Rn 


  1 1   0.00339
fy  0.85 fc 

ปริมาณเหล็กเสริม As  0.00339(100)(15.5) = 5.26 ซม.2/ความกว้าง 1 เมตร


เลือกใช้เหล็กเสริม DB10 ม.ม. @ 0.14 ม. (As  0.785100/14  5.61 ซม.2/ม.)
เหล็กเสริมกันร้าว  0.0018(100)(18)  3.24 ซม.2
เลือกใช้เหล็กเสริมกันร้าว DB10 @ 0.20 ม. (As  0.785100/20  3.93 ซม.2 )

การวิเคราะห์และออกแบบโดย SAP2000
 เริ่มต้นโปรแกรม SAP2000 เปลี่ยนหน่วยเป็นหน่วย Kgf, m, C

 กด Ctrl+N เริ่มต้นโมเดลใหม่ เลือกเริ่มต้นจากไฟล์ที่มีอยู่ ใช้แบบร่าง Grid Only

 เลือกไฟล์ RC01 SimpleRCBeam.sdb ที่สร้างไว้จากบทที่แล้วเพื่อใช้ข้อมูลวัสดุและหน้าตัด

 กาหนดจานวนเส้นกริดและระยะห่างในแต่ละทิศทางคือ (บันไดกว้าง 1.5 เมตร)

จานวนเส้นกริด ระยะห่างกริด จุดกาเนิด


X direction 2 3.5 0

Y direction 2 3 0

Z direction 3 1.75 0.2

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 46


 สั่งเมนู Define > Materials เพื่อตรวจสอบวัสดุ

 สั่งเมนู Define > Section Properties > Frame Sections สร้างหน้าตัดคาน B20X40 และ
หน้าตัดเสา C30X30 ตามความเหมาะสม

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 47


 สั่งเมนู Define > Section Properties > Area Sections สร้างหน้าตัดพื้น ST

 ปิดหน้ าต่าง 3-D View คลิ กปุ่ม ปรับมุมมองระนาบ XY Plane @ Z=1.95 ซึ่งเป็น
ระดับชานพัก
 คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด B20X40 คลิกวาดคานระหว่างจุด A-1 ถึง A-2

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 48


 คลิกเลือกคานที่วาด สั่งเมนู Edit > Extrude > Extrude Lines to Areas

 คลิกปุ่ม เลือก Fill Object เพื่อให้แสดงพื้น


 คลิกเลือกคานเดิมอีกครั้ง กด Ctrl+R เพื่อทาซ้าด้วยค่า dx = 1.5

 คลิกเลือกคานที่ถูกสร้างใหม่ สั่งเมนู Edit > Edit Lines > Divide Frames แบ่งเป็น 2 ส่วน

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 49


 คลิกเลือกท่อนบนและท่อนล่าง สั่งเมนู Edit > Extrude > Extrude Lines to Areas

 คลิกปุ่ม ปรับมุมมองสามมิติ แล้วคลิก เลือกให้แสดง Area > Local Axes

จะเห็นว่าลูกศรสีฟ้าแกน 3 ของพื้นชี้ลงซึ่งทาให้ไม่สะดวกในการดูผล
 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Area > Reverse Local 3

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 50


 คลิก เลือกปิดการแสดง Area > Local Axes
 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Area > Automatic Area Mesh

 วาดเสา, คาน และจุดรองรับ จนได้ดังในรูป (Extrude View)

น้าหนักบรรทุก

 สั่งเมนู Define > Load Patterns… ตรวจสอบว่าบรรทุก LIVE ดังในรูป

 คลิกเลือกเฉพาะพื้นบันได สั่งเมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่น้าหนักขั้นบันไดใน


กรณี DEAD = 263 กก./ม.2
SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 51
 คลิ ก เลื อ กพื้ น ทั้ ง หมด สั่ ง เมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่ น้ าหนั ก บรรทุ ก กรณี
LIVE = 400 กก./ม.2 ดังในรูป

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 52


 สั่งเมนู Define > Load Combinations ตรวจสอบกรณีบรรทุกร่วม
COMB1 = 1.4  DEAD + 1.7  LIVE

การวิเคราะห์โครงสร้าง
 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือ

 กด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์โครงสร้าง เลือก Do Not Run สาหรับกรณี MODAL แล้วกดปุ่ม


Run Now

 ตั้งชื่อไฟล์เป็น RC04 Stair1 เมื่อรันการคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงการเสียรูปทรงภายใต้


กรณีบรรทุก DEAD
SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 53
 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1
เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M11

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 54


โมเมนต์บวกมากที่สุด บนคานช่วงเดี่ยว Mu  1,084 กก.-ม.

เทียบกับที่คานวณมือ Mu  2,836 ก.ก.-ม.

 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1


เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M22

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 55


 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Frames หรือกด F8 เลือกกรณีบรรทุก
COMB1 เลือกให้แสดง Forces > M33

 สั่งเมนู Options > Moment Diagram on Tension Side แล้วปรับมุมมอง 3D เพื่อดูโมเมนต์


ไดอะแกรมของคานชานพักดังในรูป

 สั่งเมนู File > Save เพื่อบันทึกข้อมูล

ออกแบบบันได
โมเมนต์บวกมากที่สุด บนคานช่วงเดี่ยว Mu  1,084 กก.-ม.

Mu 1,084(100)
Rn    5.01 ก.ก./ซม.2
 bd2
0.90(100)(15.5)2

0.85 fc  2Rn 


   1  1    0.00127
fy  0.85 fc 

ปริมาณเหล็กเสริม As  0.00127(100)(15.5) = 1.97 ซม.2/ความกว้าง 1 เมตร


เหล็กเสริมกันร้าว  0.0018(100)(18)  3.24 ซม.2
เลือกใช้เหล็กเสริมกันร้าว DB10 @ 0.20 ม. (As  0.785100/20  3.93 ซม.2 )
SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 56
บันไดพาดทางช่วงยาวมุมฉาก
บันไดพาดช่วงยาวมุมฉากมีรูปแปลนและรูปด้านข้างดังในรูปข้างล่าง รับน้าหนักบรรทุกจร 400
ก.ก./ตร.ม. กาหนด f  = 240 ก.ก./ตร.ซม. fy = 4,000 ก.ก./ตร.ซม.
c

A B
2 1.5 m

3.0 m

1.5 m UP
1

4.5 m

A B
0.3x10 = 3.0 m 1.5 m
+3.40

+1.40

4.5 m

1 2
1.5 m 0.3x5 = 1.5 m

+1.40 0.30 m

0.20 m

+0.20

3.0 m

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 57


การวิเคราะห์และออกแบบโดย SAP2000
 เริ่มต้นโปรแกรม SAP2000 เปลี่ยนหน่วยเป็นหน่วย Kgf, m, C

 กด Ctrl+N เริ่มต้นโมเดลใหม่ เลือกเริ่มต้นจากไฟล์ที่มีอยู่ ใช้แบบร่าง Grid Only

 เลือกไฟล์ RC04 Stair1.sdb ที่สร้างไว้จากบทที่แล้วเพื่อใช้ข้อมูลวัสดุและหน้าตัด

 กาหนดจานวนเส้นกริดและระยะห่างในแต่ละทิศทางคือ

 สั่ ง เมนู Define > Coordinate Systems/Grids คลิ ก ปุ่ ม Modify/Show System แก้ ไ ข
ข้อมูลกริดทิศทาง Z

เส้นกริดจะถูกสร้างขึ้นดังในรูป

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 58


 ปิดหน้าต่าง 3-D View คลิกปุ่ม ปรับเป็นระนาบ XY Plane @ Z=1.4 ทีร่ ะดับชานพัก
 คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด B20X40 คลิกวาดคานระหว่างจุด B-1 ถึง B-2
 คลิกเลือกคาน สั่งเมนู Edit > Edit Lines > Divide Frames เพื่อแบ่งครึ่งคาน แล้วลบท่อน
บนออก

 คลิ กเลื อกคาน สั่งเมนู Edit > Extrude >


Extrude Lines to Areas

 คลิ กปุ่ ม เลื อ กหน้ าตั ด B20X40


วาดคานขอบพื้นอีก 3 ด้าน

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 59


 คลิกเลือกคานขอบด้านบน สั่งเมนู Edit > Extrude > Extrude Lines to Areas

 คลิกเลือกคานขอบด้านซ้าย สั่งเมนู Edit > Extrude > Extrude Lines to Areas

 คลิ ก เลื อ กพื้ น ที่ เ ป็ น สี เ ทา สั่ ง เมนู


Assign > Area > Reverse Local 3

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 60


 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Area > Automatic Area Mesh

 วาดเสา, คาน และจุดรองรับ จนได้ดังในรูป (Extrude View)

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 61


น้าหนักบรรทุก

 สั่งเมนู Define > Load Patterns… ตรวจสอบว่าบรรทุก LIVE ดังในรูป

 คลิกเลือกเฉพาะพื้นบันได สั่งเมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่น้าหนักขั้นบันไดใน


กรณี DEAD  (0.5)(0.2)(2,400)  240 ก.ก./ ม.2

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 62


 คลิ ก เลื อ กพื้ น ทั้ ง หมด สั่ ง เมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่ น้ าหนั ก บรรทุ ก กรณี
LIVE = 400 กก./ม.2 ดังในรูป

 สั่งเมนู Define > Load Combinations ตรวจสอบกรณีบรรทุกร่วม


COMB1 = 1.4  DEAD + 1.7  LIVE

การวิเคราะห์โครงสร้าง
 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือ

 กด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์โครงสร้าง เลือก Do Not Run สาหรับกรณี MODAL แล้วกดปุ่ม


Run Now

 เมื่อรันการคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงการเสียรูปทรงภายใต้กรณีบรรทุก DEAD

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 63


 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1
เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M11

 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1


เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M22

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 64


 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Frames หรือกด F8 เลือกกรณีบรรทุก
COMB1 เลือกให้แสดง Forces > M33

 สั่งเมนู Options > Moment Diagram on Tension Side แล้วปรับมุมมอง 3D เพื่อดูโมเมนต์


ไดอะแกรมของคานชานพักดังในรูป

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 65


บันไดเวียน
บันไดเวียนมุม 180o มีชานพักที่กลางความสูงมีรูปแปลนดังในรูปข้างล่าง รับน้าหนักบรรทุกจร 200
ก.ก./ตร.ม. กาหนด f  = 240 ก.ก./ตร.ซม. fy = 4,000 ก.ก./ตร.ซม.
c

40o

+3.0 10o +0.0

1.0 m 2.0 m 1.0 m

การวิเคราะห์และออกแบบโดย SAP2000
 เริ่มต้นโปรแกรม SAP2000 เปลี่ยนหน่วยเป็นหน่วย Kgf, m, C
 กด Ctrl+N เริ่มต้นโมเดลใหม่ เลือกเริ่มต้นจากไฟล์ที่มีอยู่ ใช้แบบร่าง 3D Frames

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 66


 เลือกไฟล์ RC04 Stair1.sdb ที่สร้างไว้จากบทที่แล้วเพื่อใช้ข้อมูลวัสดุและหน้าตัด

 เลือกโครงและใส่ข้อมูลดังในรูป

 โมเดลจะถูกสร้างขึ้นดังในรูป

 คลิกเลือกคาน สั่งเมนู Edit > Edit Line > Divide Frame แบ่งเป็นท่อนยาว 1 เมตร
SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 67
 คลิ กเลื อกคานท่อนยาว 1 เมตร สั่ งเมนู
Edit > Extrude > Extrude Lines to
Areas

 บันไดเวียนส่วนบนจะถูกสร้างขึ้นมาดังใน
รูปข้างล่าง

 วาดคานที่ ป ลายบั น ไดแล้ ว สั่ ง Extrude


เช่นเดิม

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 68


 เมื่อส่วนชานพักถูกสร้างขึ้นมาให้วาดคานที่ปลายอีกแล้วสั่ง Extrude อีกครั้ง

 วาดคานรองรับบันไดชั้นล่าง จะได้โมเดล Extrude ใน 3-D View ดังในรูป

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 69


 คลิกเลือกเฉพาะพื้นบันได สั่งเมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่น้าหนักขั้นบันไดใน
กรณี DEAD  (0.5)(0.2)(2,400)  240 ก.ก./ ม.2

 คลิกเลือกพื้นบันไดและชานพัก สั่งเมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่น้าหนักบรรทุก


กรณี LIVE = 200 กก./ม.2
 สั่งเมนู Define > Load Combinations ตรวจสอบกรณีบรรทุกร่วม
COMB1 = 1.4  DEAD + 1.7  LIVE

 คลิกเลือกพื้นบันไดและชานพัก สั่งเมนู Edit > Edit Areas > Divide Areas แบ่งพืน้ ย่อย

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 70


การวิเคราะห์โครงสร้าง
 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือ

 กด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์โครงสร้าง เลือก Do Not Run สาหรับกรณี MODAL แล้วกดปุ่ม


Run Now

 ตั้งชื่อไฟล์ว่า RC04 Stair3 เมื่อรันการคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงการเสียรูปทรงภายใต้


กรณีบรรทุก DEAD

 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1


เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M11

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 71


 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1
เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M22

SAP2000 RC  A04 Stair 1 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 72

You might also like