การให้เหตุผลทางเรขาคณิต

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 (ค22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้
เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถสามารถอธิบายประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขได้
สาระสาคัญ
ข้อความที่อยู่หลังคาว่า ถ้า จะเป็นเหตุ ส่วนข้อความที่อยู่หลังคาว่า แล้ว จะเป็นผลเนื่องจากข้อความ
ที่อยู่หลังคาว่า ถ้า ส่งผลให้เกิดข้อความที่อยู่หลังคาว่า แล้ว เรียกข้อความที่อยู่ในรูป ถ้า... แล้ว... ว่า ประโยค
เงื่อนไข
บทกลับของประโยคเงื่อนไข คือ การเขียนประโยคเงื่อนไขใหม่ โดยให้ผลของประโยคนั้นมาเป็นเหตุ
และเหตุของประโยคนั้นมาเป็นผล
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
ประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไข
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูกล่าวถึง ในชีวิตประจาวันจะพบเห็นข้อความที่เป็นเหตุเป็นผล โดยความหมายตาม
พจนานุกรมของเหตุคือ สิ่งหรือเรื่องที่ทาให้เกิดผล และผลคือ สิ่งที่เกิดจากการกระทา และให้นักเรียน
พิจารณาข้อความที่เป็นเหตุเป็นผลดังนี้
1) ถ้าสิ่งนั้นหายใจได้ แล้วสิ่งนั้นเป็นสิ่งมีชีวิต
2) ถ้ายืนตากแดด แล้วจะรู้สึกว่าร้อน
3) ถ้าต้นไม่ขาดน้า แล้วต้นไม่จะตาย
4) ถ้านักเรียนไม่ส่งการบ้าน แล้วคุณครูจะไม่ให้คะแนน
2. ครูกล่าวว่า จากข้อความข้างต้น จะเห็นว่า ข้อความที่อยู่หลังคาว่า ถ้า จะเป็นเหตุ ส่วน
ข้อความที่อยู่หลังคาว่า แล้ว จะเป็นผลเนื่องจากข้อความที่อยู่หลังคาว่า ถ้า ส่งผลให้เกิดข้อความที่อยู่หลังคา
ว่า แล้ว เรียกข้อความที่อยู่ในรูป ถ้า... แล้ว... ว่า ประโยคเงื่อนไข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3. ครูให้นักเรียนพิจารณาประโยคเงื่อนไขต่อไปนี้
1) “ถ้า a เป็นจานวนคู่บวก แล้ว a  1 เป็นจานวนคี่บวก”
เหตุ คือ a เป็นจานวนคู่บวก
ผล คือ a  1 เป็นจานวนคี่บวก
เนื่องจาก a เป็นจานวนคู่บวก เป็นจริง เมื่อ a  0, 2, 4,6,8,
จะได้ a  1  0  1  1, 2  1  3, 4  1  5,6  1  7,8  1  9
a  1  1,3,5,7,9, ซึ่งเป็นจานวนคี่บวก
นั้นคือ เมื่อเหตุเป็นจริงแล้วทาให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ
ดังนั้น ประโยคเงื่อนไขนี้เป็นจริง
2) “ถ้า b เป็นจานวนเต็มบวกที่หารด้วย 3 ลงตัว แล้ว b หารด้วย 6 ลงตัว”
เหตุ คือ b เป็นจานวนเต็มบวกที่หารด้วย 3 ลงตัว
ผล คือ b หารด้วย 6 ลงตัว
เนื่องจาก b เป็นจานวนเต็มบวกที่หารด้วย 3 ลงตัว เป็นจริง เมื่อ
b  3,6,9,12,15,
แต่ b  3 หารด้วย 6 ไม่ลงตัว
นั้นคือ เมื่อเหตุเป็นจริง แล้วไม่ทาให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ
ดังนั้น ประโยคเงื่อนไขนี้ไม่เป็นจริง

กล่าวได้ว่า
1. ประโยคเงื่อนไขเป็นจริง เมื่อเหตุเป็นจริงแล้วทาให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ
2. ประโยคเงื่อนไขไม่เป็นจริง เมื่อเหตุเป็นจริง แล้วไม่ทาให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ

4. ครูกล่าวถึงบทกลับของประโยคเงื่อนไข คือ การเขียนประโยคเงื่อนไขใหม่ โดยให้ผลของ


ประโยคนั้นมาเป็นเหตุ และเหตุของประโยคนั้นมาเป็นผล ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1) ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60 แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้น
เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
เหตุ รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60
ผล รูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
บทกลับ ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นมีขนาด
ของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60
2) ถ้ารูปสี่เหลี่ยมรูปหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้วรูปสี่เหลีย่ มนั้นมีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก
เหตุ รูปสี่เหลี่ยมรูปหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ผล รูปสี่เหลี่ยมนั้นมีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก
บทกลับ ถ้ารูปสี่เหลี่ยมรูปหนึ่งมีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก แล้วรูปสี่เหลี่ยมนั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัส
5. ครูให้นักเรียนพิจารณาประโยคเงื่อนไขและบทกลับในข้อ 1)
ประโยคเงื่อนไข ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60 แล้วรูป
สามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
บทกลับ ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นมี
ขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60
จะพบว่า ทั้งประโยคเงื่อนไขและบทกลับนั้นเป็นจริง เราสามารถเขียนเชื่อมประโยคเงื่อนไขที่
เป็นจริงและมีบทกลับของประโยคเงื่อนไขนั้นเป็นจริงด้วย โดยใช้คาว่า ก็ต่อเมื่อ ซึ่งประโยคใหม่ที่ได้จะเป็น
จริงเช่นกัน สามารถเขียน ดังนั้น
รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60
ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
หรือ

รูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ก็ต่อเมื่อ
รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60

ซึ่งมีความหมายเดียวกับ ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60


แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า และถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า แล้ว
รูปสามเหลี่ยมนั้นมีขนาดของมุมภายในทุกมุมเท่ากับ 60
กิจกรรมรวบยอด
6. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1
7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 1
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
2. PowerPoint เรื่อง การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- การสร้างและให้เหตุผล - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 และความเข้าใจ
เกี่ยวกับการสร้าง
ตัวชี้วัด - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/1 - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
- รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ความสามารถในการ - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 (ค22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้
เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถพิสูจน์ข้อความทางเรขาคณิตที่กาหนดให้ได้
สาระสาคัญ
การให้เหตุผลทางเราขาคณิต มีความเกี่ยวข้องกับ คาอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์และทฤษฎีบท โดย
คาอนิยาม คือ คาที่เป็นพื้นฐานในการสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันโดยไม่ต้องให้ความหมายของคา
ได้แก่ จุด เส้นตรง และระนาบ
บทนิยาม คือ คาหรือข้อความที่มีการให้ความหมายหรือจากัดความไว้อย่างชัดเจน ตัวอย่างของบท
นิยาม เช่น
รังสี คือส่วนหนึ่งของเส้นตรง ซึ่งมีจุดปลายเพียงจุดเดียว
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก และมีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
มุมตรง คือ มุมที่แขนทั้งสองของมุมอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งมีขนาด 2 มุมฉาก หรือ
180 องศา
เส้นมัธยฐาน คือ ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดยอดมุมของรูปสามเหลี่ยมมายังจุดกึ่งกลาง
ของด้านที่อยู่ตรงข้าม
สัจพจน์ คือข้อความที่ตกลงกันหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ และนาไปใช้อ้างเพื่อ
การพิสูจน์ข้อความอื่นว่าเป็นจริงได้ เช่น
1. มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท้านั้นที่ผ่านจุดสองจุดที่กาหนดให้
2. เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน จะตัดกันที่จุดเพียงจุดเดียวเท่านั้น
3. สามารถต่อส่วนของเส้นตรงออกไปทั้งสองข้างได้โดยไม่จากัดความยาว
4. สามารถลากเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นให้ผ่านจุดจุดหนึ่งที่ไม่อยู่บนเส้นตรงที่
กาหนดให้และขนานกับเส้นตรงที่กาหนดให้นั้น
ทฤษฎีบท คือ ข้อความทางคณิตศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นจริง และนาไปใช้ในการอ้างอิง
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
ชั่วโมงที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต เกี่ยวกับประโยคเงื่อนไข
บทกลับของประโยคเงื่อนไข โดยการถามตอบ
ตัวอย่าง ประโยคเงื่อนไข “ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆสามคู่ แล้วรูป
สามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน”
ถ้าเรานาผลของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นเหตุ และนาเหตุของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นผล เราจะได้บท
กลับของประโยคเงื่อนไข เป็นประโยคใหม่ ดังนี้
“ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาด
ของมุมเท่ากันเป็นคู่ ๆ สามคู่”
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูยกตัวอย่างของการพิสูจน์
ตัวอย่างที่ 1 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งตั้งอยู่บนส่วนของเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งแล้วทาให้เกิดมุมประชิดที่
มีขนาดของมุมรวมกันเท่ากับ 180°
D

A B
C

ต้องการพิสูจน์ว่า AB̂ C + BĈ D = 180°


พิสูจน์
ข้อความ เหตุผล
1. AĈ B = 180° 1. มุมตรง
2. AĈ D + BĈ D = 180° 2. จากภาพ
3. AB̂ C + BĈ D = 180° 3. จากข้อ 1 และข้อ 2

ตัวอย่างที่ 2 ถ้าส่วนของเส้นตรงสองเส้นตัดกัน แล้วมุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน

d c
a b

ต้องการพิสูจน์ว่า â = ĉ และ b̂ = d̂
พิสูจน์
ข้อความ เหตุผล
1. â + b̂ = 180° 1. มุมตรง
2. b̂ + ĉ= 180° 2. มุมตรง
3. â + b̂ = b̂ + ĉ 3. จากข้อ 1 และข้อ 2
4. â = ĉ 4. หักออกด้วย b̂ ที่มีขนาดเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 3 เมื่อส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดกับส่วนของเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้าส่วนของเส้นตรงคูนี้ขนาน
กัน แล้วมุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากัน

a b
c d

e f
g h

ต้องการพิสูจน์ว่า 1) ĉ = f̂ และ d̂ = ê (มุมแย้งภายใน)


2) â = ĥ และ b̂ = ĝ (มุมแย้งภายนอก)
พิสูจน์ ĉ = f̂
ข้อความ เหตุผล
1. ĉ + d̂ = 180° 1. มุมตรง
2. d̂ + f̂= 180° 2. ผลบวกของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน
ของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180°
3. ĉ + d̂ = d̂ + f̂ 3. จากข้อ 1 และข้อ 2
4. ĉ = f̂ 4. หักออกด้วย d̂ ที่มีขนาดเท่ากัน

พิสูจน์ â = ĥ
ข้อความ เหตุผล
1 â = ê 1. มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่บนข้าง
เดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน
2. ê = ĥ 2. มุมตรงข้าม
3. â = ĥ 3. จากข้อ 1 และข้อ 2

กิจกรรมรวบยอด
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 3
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 3
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ แบบฝึกหัดที่ 3 แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ และความเข้าใจ
การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
ตัวชี้วัด แบบฝึกหัดที่ 3 แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/1 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ แบบฝึกหัดที่ 3 แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 (ค22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้
เกี่ยวกับ การสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถพิสูจน์ข้อความทางเรขาคณิตที่กาหนดให้ได้
สาระสาคัญ
การให้เหตุผลทางเราขาคณิต มีความเกี่ยวข้องกับ คาอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์และทฤษฎีบท โดย
คาอนิยาม คือ คาที่เป็นพื้นฐานในการสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันโดยไม่ต้องให้ความหมายของคา
ได้แก่ จุด เส้นตรง และระนาบ
บทนิยาม คือ คาหรือข้อความที่มีการให้ความหมายหรือจากัดความไว้อย่างชัดเจน ตัวอย่างของบท
นิยาม เช่น
รังสี คือส่วนหนึ่งของเส้นตรง ซึ่งมีจุดปลายเพียงจุดเดียว
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก และมีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
มุมตรง คือ มุมที่แขนทั้งสองของมุมอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งมีขนาด 2 มุมฉาก หรือ
180 องศา
เส้นมัธยฐาน คือ ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดยอดมุมของรูปสามเหลี่ยมมายังจุดกึ่งกลาง
ของด้านที่อยู่ตรงข้าม
สัจพจน์ คือข้อความที่ตกลงกันหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ และนาไปใช้อ้างเพื่อ
การพิสูจน์ข้อความอื่นว่าเป็นจริงได้ เช่น
1. มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท้านั้นที่ผ่านจุดสองจุดที่กาหนดให้
2. เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน จะตัดกันที่จุดเพียงจุดเดียวเท่านั้น
3. สามารถต่อส่วนของเส้นตรงออกไปทั้งสองข้างได้โดยไม่จากัดความยาว
4. สามารถลากเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นให้ผ่านจุดจุดหนึ่งที่ไม่อยู่บนเส้นตรงที่
กาหนดให้และขนานกับเส้นตรงที่กาหนดให้นั้น
ทฤษฎีบท คือ ข้อความทางคณิตศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นจริง และนาไปใช้ในการอ้างอิง
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
ชั่วโมงที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต เกี่ยวกับประโยคเงื่อนไข
บทกลับของประโยคเงื่อนไข โดยการถามตอบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูยกตัวอย่างของการพิสูจน์
ตัวอย่างที่ 4 ผลบวกของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ เท่ากับ 180°
B
D E

A C
ต้องการพิสูจน์ว่า BÂ C + AB̂ C + BĈ A = 180°
พิสูจน์ ลาก DE
⃡ ผ่านจุด B และขนานกับ AC
̅
ข้อความ เหตุผล
1. DB̂ A + AB̂ C + EB̂ C = 180° 1. มุมตรง
2. DB̂ A = BÂ C 2. มุมแย้ง
3. EB̂ C = BĈ A 3. มุมแย้ง
4. BÂ C + AB̂ C + BĈ A = 180° 4. จากข้อ 3, 4

ตัวอย่างที่ 5 ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดจะมีขนาดเท่ากับ


ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น
B

A D
C
ต้องการพิสูจน์ว่า BĈ D = AB̂ C + CÂ B
พิสูจน์
ข้อความ เหตุผล
1. AB̂ C + BĈ A + CÂ B = 180° 1. มุมตรง
2. BĈ A + BĈ D = 180° 2. มุมตรง
3. BĈ A + BĈ D = AB̂ C + BĈ A + CÂ B 3. จากข้อ 1 และข้อ 2
4. BĈ D = AB̂ C + CÂ B 4. หักออกด้วย BĈ A ที่มีขนาดเท่ากัน
กิจกรรมรวบยอด
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 4
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 4
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ แบบฝึกหัดที่ 4 แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ และความเข้าใจ
การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
ตัวชี้วัด แบบฝึกหัดที่ 4 แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/1 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ แบบฝึกหัดที่ 4 แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา

You might also like