ไนโอเบียม
หน้าตา
ไนโอเบียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /naɪˈoʊbiəm/ | ||||||||||||||
รูปลักษณ์ | สีเทามันวาว, แกมสีน้ำเงินเมื่อออกซิไดส์ | ||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(Nb) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
ไนโอเบียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
หมู่ | group 5 | ||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 5 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-d | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Kr] 4d4 5s1 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 12, 1 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | solid | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 2750 K (2477 °C, 4491 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 5017 K (4744 °C, 8571 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 8.57 g/cm3 | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 30 kJ/mol | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 689.9 kJ/mol | ||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 24.60 J/(mol·K) | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | −3, −1, 0, +1, +2, +3, +4, +5 (ออกไซด์เป็นกรดเล็กน้อย) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 1.6 | ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 146 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 164±6 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของไนโอเบียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
การมีอยู่ในธรรมชาติ | primordial | ||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | body-centered cubic (bcc) | ||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | 7.3 µm/(m⋅K) | ||||||||||||||
การนำความร้อน | 53.7 W/(m⋅K) | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 152 nΩ⋅m (ณ 0 °C) | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก | ||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | 105 GPa | ||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 38 GPa | ||||||||||||||
Bulk modulus | 170 GPa | ||||||||||||||
Speed of sound thin rod | 3480 m/s (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซง | 0.40 | ||||||||||||||
Mohs hardness | 6.0 | ||||||||||||||
Vickers hardness | 870–1320 MPa | ||||||||||||||
Brinell hardness | 735–2450 MPa | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-03-1 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การตั้งชื่อ | ตั้งชื่อตามเทพไนโอบี เทพเจ้าตำนานกรีก, บุตรสาวของเทพแทนทาลัส (แทนทาลัม) | ||||||||||||||
การค้นพบ | ชาร์ลส์ แฮตเช็ตต์ (1801) | ||||||||||||||
การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรก | คริสเตียน วิลเฮล์ม บลอมสตรันด์ (1864) | ||||||||||||||
ถูกจัดเป็น ธาตุ โดย | ไฮน์ริช โรส (1844) | ||||||||||||||
ไอโซโทปของไนโอเบียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของไนโอเบียม | |||||||||||||||
ไนโอเบียม (อังกฤษ: Niobium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 41 และสัญลักษณ์คือ Nb ไนโอเบียมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีเทาหายาก อ่อนนุ่ม ตีเป็นแผ่นได้ พบในแร่ไนโอไบต์และแร่โคลัมไบต์
การใช้ประโยชน์
[แก้]- ใช้ทำโลหะผสม โดยเฉพาะการเชื่อมข้อต่อ[ต้องการอ้างอิง]
- และสามารถนำไปผสมกับโลหะเซอร์โคเนียมเพื่อทำเป็นสารตัวนำยวดยิ่ง
ข้อถกเถียงชื่อของธาตุ
[แก้]ชื่อเก่าของไนโอเบียม 'โคลัมเบียม (อักษรย่อ Cb)'[2] ตั้งชื่อโดย Hatchett จากการค้นพบธาตุในปี 1801 โดยตั้งตามภูมิภาคที่ค้นพบแร่ที่นำมาสกัดเป็นโลหะที่มีส่วนผสมของไนโอเบียม [3] ต่อมามีการค้นพบและสกัดจากแร่ในภูมิภาคยุโรปและตั้งชื่อว่า ไนโอเบียม และได้มีการจัดให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม ในในการประชุมเคมีนานาชาติครั้งที่ 12 ที่กรุงอัมเตอร์ดัมในปี 1949.[4] ปีต่อมา สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC)ได้ตกลงให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Standard Atomic Weights: Niobium". CIAAW. 2017.
- ↑ Kòrösy, F. (1939). "Reaction of Tantalum, Columbium and Vanadium with Iodine". Journal of the American Chemical Society. 61 (4): 838–843. doi:10.1021/ja01873a018.
- ↑ Nicholson, William, บ.ก. (1809), The British Encyclopedia: Or, Dictionary of Arts and Sciences, Comprising an Accurate and Popular View of the Present Improved State of Human Knowledge, vol. 2, Longman, Hurst, Rees, and Orme, p. 284, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2019, สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
- ↑ Rayner-Canham, Geoff; Zheng, Zheng (2008). "Naming elements after scientists: an account of a controversy". Foundations of Chemistry. 10 (1): 13–18. doi:10.1007/s10698-007-9042-1. S2CID 96082444.