ข้ามไปเนื้อหา

รายการธงในสาธารณรัฐไวมาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน สาธารณรัฐไวมาร์ (ค.ศ. 1919–1933).

ธงชาติ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1933 ธงชาติ ธงแบ่งเป็นแถบแนวนอนสี 3 แถบ ดำ-แดง-ทอง อัตราส่วน : 2:3.[1]
ค.ศ. 1927–1933 ธงราชการสำหรับตกแต่ง .

ธงเรือ

[แก้]

ธงค้าขาย

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1933 ธงค้าขาย ลักษณะเดียวกับธงของจักรวรรดิเยอรมัน ประกอบธงดำ-แดง-ทองภายในแถบสีดำขอบขาวที่มุมบนคันธง. อัตราส่วน: 2:3.
ค.ศ. 1921–1933 ธงเรือช่วยรบ และ ธงเรือพลเรือนบังคับการโดยทหาร ธงค้าขายแบบเพิ่มเติมมีรูปกางเขนเหล็ก.

ธงราชการ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1921–1933 ธงราชการสำหรับใช้ในแผ่นดิน บังคับใช้ระหว่างวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 ถึง 11 เมษายน ค.ศ. 1933 อัตราส่วน: 2:3. Über die Verwendung von Dienstflaggen mit anderen Adlervarianten gibt es keine Belege:.
ค.ศ. 1921–1926 ธงเรือราชการสำหรับใช้ในทะเล บังคับใช้ระหว่างวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 ถึง มกราคม ค.ศ. 1926. Wohl nicht verwendete Variante:
ค.ศ. 1926–1933 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1926 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงไปรษณีย์

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921 ธงเจ้าพนักงานการไปรษณีย์ บังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 รับรองอย่างเป็นทางการเมื่อ 15 ตุลาคม ในปีเดียวกัน ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน: 2:3.
ค.ศ. 1921–1933 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 11เมษายน ค.ศ. 1921 รับรองอย่างเป็นทางการเมื่อ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 ถึง 31. มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงทหาร

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. (1903)–1921 ธงจักรพรรดินาวี บังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1921.
ค.ศ. (1919) ธงแสดงสัญชาติสงคราม ไม่เคยใช้โดยนิตินัย.
ค.ศ. 1921–1933 บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1921 และ ใช้เป็นธงศึกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1922.
ค.ศ. (1903)–1921 ธงฉาน .
ค.ศ. (1919)/1921–1933 วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1922 ถึง 14 มีนาคม ค.ศ. 1933.

ธงตำแหน่งราชการ

[แก้]

ประธานาธิบดี

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921 ธงประธานาธิบดี บังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน: 3:5.
ค.ศ. 1921–1933[2] Die am 31. Juli 1921 eingeführte Standarte wurde vermutlich durchgehend bis zum Jahr 1933 verwendet und ab dem Jahr 1926 zusätzlich zur nachfolgenden Version eingesetzt.[3]
ค.ศ. 1926–1933 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1926 ถึง 22 เมษายน ค.ศ. 1933.

รัฐมนตรีว่าการกลาโหม

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1919–1921 ธงรัฐมนตรีว่าการกลาโหม บังคับใช้ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1919 ถึง 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921. อัตราส่วน 3:5.
ค.ศ. 1921–1933 บังคับใช้ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 ถึง 14 มีนาคม กรกฎาคม ค.ศ. 1933 อัตราส่วน 2:3.

ธงยศทหาร

[แก้]

ธงทหารบก

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. (1871)–1925 ธงผู้บัญชาการกองทัพบก
ธงผู้บัญชาการกองกำลัง หรือ กองกำลังรถถังแพนเซอร์
ธงผู้บัญชาการกองพล ลักษณะเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม
ค.ศ. 1925–1927 ธงเสนาธิการทหารบก บังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933 บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927 ธงผู้บัญชาการกองทัพภาค บังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933 บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927 ธงผู้บัญชาการกองพล บังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1927–1933 บังคับใช้ระหว่าง ค.ศ. 1927 ถึง ค.ศ. 1933
ค.ศ. 1925–1927 ธงผู้บัญชาการกองพลทหารม้า บังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1927.
ค.ศ. 1925–1933 ธงผู้บัญชาการกรมทหารราบ บังคับใช้ระหว่างวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925, ถึง เดือนมกราคม ค.ศ. 1933 สำหรับ.
ธงผู้บัญชาการกรมทหารปืนใหญ่

ธงทหารเรือ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ตั้งแต่ ค.ศ. 1871 ธงพลเรือเอก ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก.
ธงพลเรือโท ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีดำ 1 วง.
ธงพลเรือตรี ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบน และ มุมล่างคันธงมีวงกลมสีดำช่องละ 1 วง.
ธงพลเรือจัตวา Wurde der Stander im Topp gesetzt, handelte es sich um einen Kommodore-Stander, wurde er an der Rahe gesetzt, handelte es sich um den Dienstaltersstander
ธงผู้บัญชาการกองเรือรบ ธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาวตัดปลายหางแซงแซว2แฉกตรากางเขนเหล็ก
ธงผู้บังคับหมวดเรือ Wurde der Stander im Topp gesetzt, handelte es sich um den Stander einer Halbflottille, ab dem 1. Januar 1922 handelte es sich um einen Führerstander, sofern dieser an der Rahe gesetzt wurde.
ธงผู้บังคับการเรือ
ค.ศ. (1902)–1921 ธงผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจ Der Führerstander wurde zunächst aus dem Kaiserreich übernommen. Er wurde am 1. Januar 1922 durch den vorangehend beschriebenen Halbflotillenstander ersetzt.
ค.ศ. 1922–1933 ธงนำร่อง บังคับใช้ระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1921 ถึง 21 มิถุนายน กรกฎาคม ค.ศ. 1933. ธงค้าขายมีขอบสีขาวความกว้าง 1/5 ของธง.

ธงรัฐบาลประจำแต่ละรัฐ

[แก้]

Schiffssonderflaggen

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
ค.ศ. 1926–1933 ธงจักรพรรดินาวี Ab 1926 an jedem 31. Mai auf allen Schiffen der Kriegsmarine gehisst. (Tag der Skagerrag-Schlacht)
ค.ศ. 1922–1933 ธงรัฐปรัสเซีย
ธงนครรัฐฮัมบวร์ค

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nach DREYHAUPT (2000) betrugen die Maße von 1919 bis zum Jahr 1921 3:5. Er führt dafür jedoch keinen besonderen Beleg an. In der Verfassung von 1919 gibt es keine Angaben über die zu verwendenden Maße.
  2. Bezüglich der Standarte des Reichspräsidenten gibt es Unklarheiten über den genauen Zeitraum ihrer Verwendung. DREYHAUPT (2000) ging zunächst noch davon aus, dass im Jahr 1928 die Version von 1921 erneut eingeführt wurde, nachdem 1926 eine Standarte mit sechs Federn je Flügel eingeführt wurde. Offizielle Veröffentlichungen des Reichsministeriums des Inneren aus den Jahren 1928 bzw. 1930 zeigen Versionen mit fünf Federn je Flügel. SCHMÖGER (2002) erwähnt jedoch ein Foto aus dem Jahr 1930, das die Präsidentenstandarte mit sechs Federn belegt. Ein anderes Foto aus dem Jahr 1931 zeigt die Standarte mit fünf Federn je Flügel. Es muss daher davon ausgegangen werden, dass ab dem Jahr 1926 beide Versionen eingesetzt wurden.
  3. ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-11056, Berlin, Reichstag, Reichsgründungsfeier.jpg

เชิงอรรถ

[แก้]
  • Dreyhaupt: Deutsche Nationalflaggen, Teil V: Flaggen der Weimarer Republik, in: Der Flaggenkurier Nr. 11/2000, Deutsche Gesellschaft für Flaggenkunde, Berlin

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:SORTIERUNG:Weimarer Republik