ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย - รอบสอง เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศของทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เริ่มแข่งขันในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง 29 มีนาคม พ.ศ. 2559.[1] โดยมีทีมแข่งขันในรอบนี้ทั้งสิ้น 40 ทีม และจะคัดเลือกเพียง 12 ทีมที่ดีที่สุดเพื่อเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย - รอบที่ 3 และทั้ง 12 ทีมที่เข้ารอบจะได้รับสิทธิ์เข้าแข่งรอบสุดท้ายของเอเชียนคัพ 2019 โดยอัตโนมัติ

รูปแบบการแข่งขัน

[แก้]

การจับสลากการแข่งขัน

[แก้]

การจับสลากการแข่งขันในรอบที่สองมีขึ้นในวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2558, เวลา 17:00 น. MST (UTC+8), ที่โรงแรมเจดับบลิวแมร์ริออตต์ ในกรุง กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย.[2][3]

การจับสลากแบ่งสายจะอยู่บนพื้นฐานของ อันดับโลกฟีฟ่า ของเดือนเมษายน 2558 (แสดงในวงเล็บด้านล่าง).[4] 40 ทีมจะอยู่ในห้าโถดังต่อไปนี้:[5]

  • โถที่ 1 ประกอบไปด้วยทีมอันดับที่ 1–8
  • โถที่ 2 ประกอบไปด้วยทีมอันดับที่ 9–16
  • โถที่ 3 ประกอบไปด้วยทีมอันดับที่ 17–24
  • โถที่ 4 ประกอบไปด้วยทีมอันดับที่ 25–32
  • โถที่ 5 ประกอบไปด้วยทีมอันดับที่ 33–40
โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4 โถ 5
  • ตัวหนา หมายถึง ทีมที่ผ่านเข้าสู่รอบที่ 3
  • ตัวเอียง หมายถึง ทีมที่มาจากรอบแรก

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย (Q) 8 6 2 0 28 4 +24 20 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 2–1 3–2 2–0 7–0
2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (Q) 8 5 2 1 25 4 +21 17 1–1 2–0 10–0 8–0
3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ (Q) 8 3 3 2 22 6 +16 12 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–0 0–0 6–0 7–0
4 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (Q) 8 1 1 6 3 30 −27 4 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–3[a] 1–2 0–6 1–1
5 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต (Q) 8 0 2 6 2 36 −34 2 0–10 0–1 1–1 0–1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม; 4) คะแนนตัวต่อตัว; 5) ผลต่างประตูตัวต่อตัว; 6) คะแนนรวมตัวต่อตัว; 7) เพลย์ออฟ
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. การแข่งขันระหว่างมาเลเซียและซาอุดีอาระเบียในวันที่ 8 กันยายน 2558 ถูกสั่งยกเลิกในนาทีที่ 87 เนื่องจากผู้ชมขว้างปาสิ่งของลงมาในสนาม ในขณะนั้นซาอุดีอาระเบียนำอยู่ 1-2 ในวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ฟีฟ่าตัดสินยกเลิกผลการแข่งขันและปรับมาเลเซียแพ้ 0-3[6][7]










กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (Q) 8 7 0 1 29 4 +25 21 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 5–1 3–0 7–0 5–0
2 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (Q) 8 5 1 2 21 7 +14 16 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 2–0 0–0 3–0 8–0
3 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน (Q) 8 4 2 2 10 8 +2 14 1–2 1–0 2–2 2–0
4 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน (Q) 8 1 2 5 9 20 −11 5 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–3 1–3 0–1 5–0
5 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ (Q) 8 0 1 7 2 32 −30 1 0–4 0–4 1–3 1–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
บังกลาเทศ ธงชาติบังกลาเทศ1–3ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน
Kichin ประตู 32' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Zemlianukhin ประตู 8'41'
Bernhardt ประตู 29' (จุดโทษ)
ทาจิกิสถาน ธงชาติทาจิกิสถาน1–3ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
Dzhalilov ประตู 66' รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Abdel-Fattah ประตู 29'63'88'


ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย5–0ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
Leckie ประตู 6'
Rogić ประตู 8'
Barman ประตู 20' (เข้าประตูตัวเอง)
Burns ประตู 29'
Mooy ประตู 61'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)




ทาจิกิสถาน ธงชาติทาจิกิสถาน5–0ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
M. Dzhalilov ประตู 16'26'59'74'
Nazarov ประตู 51' (ลูกโทษ)
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)



กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ (Q) 8 7 0 1 29 4 +25 21 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 1–0 2–0 4–0 15–0
2 ธงชาติจีน จีน (Q) 8 5 2 1 27 1 +26 17 2–0 0–0 4–0 12–0
3 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง (Q) 8 4 2 2 13 5 +8 14 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 2–3 0–0 2–0 7–0
4 Flag of the Maldives มัลดีฟส์ (Q) 8 2 0 6 8 20 −12 6 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–1 0–3 0–1 4–2
5 ธงชาติภูฏาน ภูฏาน (Q) 8 0 0 8 5 52 −47 0 0–3 0–6 0–1 3–4
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
มัลดีฟส์ Flag of the Maldives0–1ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Maqsoud ประตู 90+8'
ผู้ชม: 9,000
ผู้ตัดสิน: Yudai Yamamoto (Japan)


จีน ธงชาติจีน0–0ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 26,173
ผู้ตัดสิน: Strebre Delovski (Australia)
กาตาร์ ธงชาติประเทศกาตาร์15–0ธงชาติภูฏาน ภูฏาน
Musa ประตู 8'28'
Kasola ประตู 18'
Assadalla ประตู 21'45'63'
Al-Haidos ประตู 25'87'
Muntari ประตู 37'41'48'
Afif ประตู 57'
Khoukhi ประตู 62'70'
Mohammad ประตู 75'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)







กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (Q) 8 6 2 0 26 3 +23 20 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 2–0 3–1 6–0 4–0
2 ธงชาติโอมาน โอมาน (Q) 8 4 2 2 11 7 +4 14 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 1–1 3–1 1–0 3–0
3 ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน (Q) 8 4 1 3 10 11 −1 13 1–1 2–1 1–0 2–1
4 ธงชาติกวม กวม (Q) 8 2 1 5 3 16 −13 7 0–6 0–0 1–0 2–1
5 ธงชาติอินเดีย อินเดีย (Q) 8 1 0 7 5 18 −13 3 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–3[a] 1–2 1–2 1–0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : Qualification tiebreakers
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. FIFA awarded Iran a 3–0 win as a result of India fielding the ineligible player Eugeneson Lyngdoh.[15] The match initially ended 3–0 to Iran.

กวม ธงชาติกวม2–1ธงชาติอินเดีย อินเดีย
McDonald ประตู 37'
Nicklaw ประตู 62'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Chhetri ประตู 90+3'
ผู้ชม: 3,277
ผู้ตัดสิน: Võ Minh Trí (Vietnam)

อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน6–0ธงชาติกวม กวม
Dejagah ประตู 10' (ลูกโทษ)
Taremi ประตู 31'65'
Azmoun ประตู 34'41'
Torabi ประตู 89'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 11,232
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Marri (Qatar)

กวม ธงชาติกวม0–0ธงชาติโอมาน โอมาน
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 2,239
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kimura (Japan)


โอมาน ธงชาติโอมาน3–0ธงชาติอินเดีย อินเดีย
Mubarak ประตู 55'
Al-Muqbali ประตู 67'84'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 11,000
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Marri (Qatar)

อินเดีย ธงชาติอินเดีย1–0ธงชาติกวม กวม
R. Singh ประตู 10' รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 6,277
ผู้ตัดสิน: Jarred Gillett (Australia)

กวม ธงชาติกวม0–6ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Taremi ประตู 12'63'
Kamyabinia ประตู 32'
Rezaeian ประตู 49'
Shojaei ประตู 52' (ลูกโทษ)
Ansarifard ประตู 53'
ผู้ชม: 2,087
ผู้ตัดสิน: Ho Wai Sing (Hong Kong)
เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน2–1ธงชาติโอมาน โอมาน
Geworkýan ประตู 40'
Muhadow ประตู 67'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Al-Ghassani ประตู 70'
ผู้ชม: 23,100
ผู้ตัดสิน: Ma Ning (China)

โอมาน ธงชาติโอมาน1–0ธงชาติกวม กวม
Mubarak ประตู 53' รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 8,000
ผู้ตัดสิน: Jameel Abdulhusin (Bahrain)

อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน2–0ธงชาติโอมาน โอมาน
Azmoun ประตู 16'23' รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 33,850
ผู้ตัดสิน: Minoru Tōjō (Japan)

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (Q) 8 7 1 0 27 0 +27 22 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 5–0 0–0 5–0 3–0
2 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย (Q) 8 6 0 2 26 11 +15 18 0–3 1–0 5–2 6–0
3 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ (Q) 8 3 1 4 9 9 0 10 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–3 1–2 1–0 2–1
4 ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน (Q) 8 3 0 5 8 24 −16 9 0–6 0–6 2–1 3–0
5 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา (Q) 8 0 0 8 1 27 −26 0 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–2 0–6 0–4 0–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.



กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา0–6ธงชาติซีเรีย ซีเรีย
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Khribin ประตู 29'39'
Malki ประตู 31'
Maowas ประตู 44'
Midani ประตู 50'
Omari ประตู 81'




กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา0–2ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Laboravy ประตู 51' (เข้าประตูตัวเอง)
ฮนดะ ประตู 90'
ผู้ชม: 29,871 คน
ผู้ตัดสิน: ฝู หมิง (จีน)

ซีเรีย ธงชาติซีเรีย6–0ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
Khribin ประตู 7'19'
Kallasi ประตู 57'
Makara ประตู 70' (เข้าประตูตัวเอง)
Al Hussein ประตู 80'
Malki ประตู 84'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น5–0ธงชาติซีเรีย ซีเรีย
Al Masri ประตู 17' (เข้าประตูตัวเอง)
คางาวะ ประตู 66'90'
ฮนดะ ประตู 86'
ฮารางูจิ ประตู 90+3'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไทย ไทย (Q) 6 4 2 0 14 6 +8 14 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 2–2 1–0 4–2
2 ธงชาติอิรัก อิรัก (Q) 6 3 3 0 13 6 +7 12 2–2 1–0 5–1
3 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม (Q) 6 2 1 3 7 8 −1 7 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–3 1–1 4–1
4 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (Q) 6 0 0 6 5 19 −14 0 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–2 0–2 1–2
5 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (D) 0 0 0 0 0 0 0 0 ถูกตัดสิทธิ์เนื่องจากฟีฟ่าสั่งระงับการแข่งขันหลังจากเกิดปัญหาการแทรกแซงการเมืองสู่วงการฟุตบอล[a]
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(D) ตัดสิทธิ์; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. On 30 May 2015, FIFA announced that the Football Association of Indonesia (PSSI) was suspended with immediate effect for governmental interference.[19] On 3 June 2015, the AFC confirmed that Indonesia have been excluded from the qualifying competition, and all matches involving them have been cancelled.[20]

จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป0–2ธงชาติไทย ไทย
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
ธีรศิลป์ ประตู 21'39'

อิรัก ธงชาติอิรัก5–1ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
Adnan ประตู 37'
Hosni ประตู 59'
Yasin ประตู 80'
Mahmoud ประตู 88'
Meram ประตู 90+1' (จุดโทษ)
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
เวิน จื้อ-หาว ประตู 86'
อาซาดี สเตเดียม, เคอร์มันชาห์ (อิหร่าน)[note 11]
ผู้ชม: 4,200 คน





จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป0–2ธงชาติอิรัก อิรัก
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)
Ismail ประตู 19'
Mahmoud ประตู 85'


กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (Q) 8 8 0 0 27 0 +27 24 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 1–0 3–0อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง อ้างอิงที่ไม่มีชื่อต้องมีเนื้อหา 4–0 8–0
2 ธงชาติเลบานอน เลบานอน (Q) 8 3 2 3 12 6 +6 11 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–3 0–1 1–1 7–0
3 ธงชาติคูเวต คูเวต[a] (Q) 8 3 1 4 12 10 +2 10 0–1 0–0 9–0 0–3[a]
4 ธงชาติประเทศพม่า พม่า (Q) 8 2 2 4 9 21 −12 8 0–2 0–2 3–0[a] 3–1
5 ธงชาติลาว ลาว (Q) 8 1 1 6 6 29 −23 4 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 0–5 0–2 0–2 2–2
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 On 16 October 2015, the Kuwait FA was suspended by FIFA with immediate effect, after Kuwait had failed to comply with a decision from the FIFA Executive Committee that sports law of the country had to be changed before 15 October. The three remaining matches involving Kuwait (away v Myanmar, home v Laos, away v South Korea) were not played as originally scheduled, and were later awarded as 3–0 wins for Kuwait's opponents.


คูเวต ธงชาติคูเวต9–0ธงชาติประเทศพม่า พม่า
Nasser ประตู 11'18'
Maqseed ประตู 12'
Zayid ประตู 46'
จอมีนตูน ประตู 56' (เข้าประตูตัวเอง)
Mashaan ประตู 61'
Al-Mutawa ประตู 69' (จุดโทษ)88'90+3'
รายงาน (ฟีฟ่า)
รายงาน (เอเอฟซี)








กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน (Q) 8 7 0 1 20 7 +13 21 รอบที่ 3 และ เอเชียน คัพ 3–1 1–0 1–0 1–0
2 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (Q) 8 5 1 2 14 8 +6 16 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 4–2 0–0 2–0 1–0
3 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (Q) 8 3 1 4 8 12 −4 10 1–5 3–2 2–1 0–1
4 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน (Q) 8 3 0 5 10 10 0 9 0–4 0–1 2–0 3–0
5 ธงชาติเยเมน เยเมน (Q) 8 1 0 7 2 17 −15 3 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 1–3 0–3[a] 0–2 0–4
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. FIFA awarded North Korea a 3–0 win as a result of Yemen fielding the ineligible player Mudir Al-Radaei, after North Korea had defeated Yemen 1–0. Al-Radaei failed to serve an automatic one match suspension for receiving two yellow cards earlier in the First Round of the competition.[29]









ตารางคะแนนอันดับสองที่ดีที่สุด

[แก้]
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอฟ ธงชาติอิรัก อิรัก (Q) 6 3 3 0 9 6 +3 12 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ
2 อี ธงชาติซีเรีย ซีเรีย (Q) 6 4 0 2 14 11 +3 12
3 เอ Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์[a] (Q) 6 3 2 1 16 4 +12 11
4 ซี ธงชาติจีน จีน (Q) 6 3 2 1 9 1 +8 11
5 เอช ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (Q) 6 3 1 2 10 8 +2 10 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือกรอบที่ 3
6 บี ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (Q) 6 3 1 2 9 7 +2 10
7 ดี ธงชาติโอมาน โอมาน (Q) 6 2 2 2 6 6 0 8
8 จี ธงชาติเลบานอน เลบานอน (Q) 6 1 2 3 3 6 −3 5
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2016. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) Points from matches against teams ranked first to fourth in the group; 2) Superior goal difference from these matches; 3) Higher number of goals scored in these matches; 4) Play-off
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับ เอเชียนคัพ ในฐานะเจ้าภาพ.

อันดับดาวซัลโว

[แก้]

มี 461 ประตูใน 136 เกม, สำหรับค่าเฉลี่ยของ 3.39 ประตูต่อเกม.

14 ประตู
10 ประตู
8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 The fixtures between Saudi Arabia and Palestine were switched after Saudi Arabia cited “exceptional conditions” for their inability to travel to the West Bank.[8]
  2. Timor-Leste will host the UAE in Malaysia due to the lack of a suitable venue in Dili.[9]
  3. 3.0 3.1 การแข่งขันระหว่างมาเลเซียและซาอุดีอาระเบียถูกสั่งยกเลิกในนาทีที่ 87 หลังจากผู้ชมขว้างปาสิ่งของลงมาในสนาม ในขณะนั้นซาอุดีอาระเบียนำอยู่ 1-2 ในวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ฟีฟ่าตัดสินปรับมาเลเซียแพ้ 0-3 และมาเลเซียต้องแข่งขันนัดเหย้าครั้งถัดไปกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์โดยไม่มีผู้ชม[10][11]
  4. 4.0 4.1 The home matches of Palestine against Saudi Arabia and Malaysia were played on neutral ground as the Palestinian government confirmed that it could no longer guarantee the safety and security for the matches.[12] The neutral venue was announced to be Amman International Stadium in Amman, Jordan.[13]
  5. Maldives played their home match against China PR in China due to the poor condition of the National Football Stadium.[14]
  6. FIFA awarded Iran a 3–0 win as a result of India fielding the ineligible player Eugeneson Lyngdoh.[15] The match initially ended 3–0 to Iran.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Afghanistan will play their home matches in Iran due to security concerns from the War in Afghanistan.[16]
  8. 8.0 8.1 The fixtures between Japan and Singapore were switched due to the Singapore National Stadium being booked on 16 June 2015 to host the closing ceremony of the 2015 Southeast Asian Games.[17]
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 Syria will play their home matches in Oman due to security concerns from the Syrian Civil War.[18]
  10. แมตช์ทีมชาติไทยพบกับทีมชาติเวียดนามถูกยกมาแข่งขันจากกำหนดเดิมวันที่ 11 มิถุนายน 2558 เนื่องจากโปรแกรมทับซ้อนและแทรกกลางระหว่างการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ 2015.[21]
  11. 11.0 11.1 11.2 อิรักจะลงเล่นแมตช์ที่บ้านของพวกเขาในประเทศอิหร่าน เนื่องจากกังวลด้านความปลอดภัยจาก เหตุประท้วงที่อิรัก.[16]
  12. 12.0 12.1 12.2 พม่าแข่งขันนัดเหย้าในประเทศไทยเนื่องจากถูกสั่งห้ามแข่งขันในประเทศหลังจากความรุนแรงในการแข่งขันรอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2014 ในนครย่างกุ้ง.[22]
  13. Kuwait played their home match against Myanmar in Qatar due to unspecified reasons.[23]
  14. แมตช์ระหว่าง พม่า พบ คูเวต, ตามกำหนดเดิมในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2015, 19:00 UTC+7, ที่ ราชมังคลากีฬาสถาน ใน กรุงเทพมหานคร, ไทย, ไม่สามารถลงเล่นได้ตามกำหนดเนื่องจากการโดนโทษแบนของ สมาคมฟุตบอลคูเวต โดย ฟีฟ่า.[24] Further decision is yet to be determined.
  15. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2016, ฟีฟ่าได้ตัดสินโปรแกรมการแข่งขันสำหรับวันที่ 17 พฤศจิกายน 2015 นั้นควรถูกริบโดยคูเวต (และตัดสินให้ชนะผ่าน3–0 สำหรับพม่า) ในขณะที่ไม่ได้เกิดขึ้นเนื่องจากการระงับของ สมาคมฟุตบอลคูเวต.[25][26]
  16. 16.0 16.1 แมตช์ระหว่าง คูเวต พบ ลาว, ตามเดิมจะต้องลงเล่นในวันที่ 24 มีนาคม 2016, 18:35 UTC+3, ที่ อัล คูเวต สปอร์ตส์ คลับ สเตเดียม, คูเวต ซิตี, คูเวต, และแมตช์ระหว่าง เกาหลีใต้ พบ คูเวต, ตามเดิมจะต้องลงเล่นในวันที่ 29 มีนาคม 2016, 20:00 UTC+9, ที่ แดกูเวิลด์คัพสเตเดียม, แดกู, เกาหลีใต้, ได้ถูกยกเลิกการแข่งขันเนื่องจากการมีบทลงโทษของ สมาคมฟุตบอลคูเวต โดย ฟีฟ่า.[27] การตัดสินใจต่อไปคือจะต้องดำเนินการโดย คณะกรรมการวินัยของฟีฟ่า.[28]
  17. FIFA awarded North Korea a 3–0 win as a result of Yemen fielding the ineligible player Mudir Al-Radaei, after North Korea had defeated Yemen by 1–0. Al-Radaei failed to serve an automatic one match suspension for receiving two yellow cards earlier in the First Round of the competition.[29]
  18. 18.0 18.1 18.2 18.3 Yemen played their home matches in Qatar due to security concerns from the Saudi Arabian-led intervention in Yemen.[30]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". AFC. 16 April 2014.
  2. "Draw date set for Round 2 of 2018 World Cup, 2019 Asian Cup qualifiers". AFC. 26 March 2015.
  3. "Draw: 2018 FIFA World Cup Russia Preliminary Qualification Round 2". AFC. 15 April 2015.
  4. "FIFA Men's Ranking – April 2015 (AFC)". FIFA.com. 8 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-05-23.
  5. "Draw for Russia 2018, UAE 2019 Round 2 qualifiers looms large". AFC. 13 April 2015.
  6. Rashvinjeet S. Bedi; T. Avineshwaran (8 September 2015). "Malaysia-Saudi match abandoned after crowd trouble". The Star. สืบค้นเมื่อ 8 September 2015.
  7. "Malaysian FA sanctioned after abandonment of FIFA World Cup qualifier". FIFA.com. 5 October 2015. สืบค้นเมื่อ 5 October 2015.
  8. "Palestine and Saudi Arabia agree to swap venues for World Cup qualifier". The National (UAE). 8 June 2015.
  9. "S. Korea to travel to Southeast Asia for friendly, World Cup qualifier". Yonhap News Agency. 26 May 2015.
  10. "VIDEO: Malaysia vs Saudi Arabia halted indefinitely as crowd gets hostile". Fourth Official. 8 September 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 8 September 2015.
  11. "Malaysian FA sanctioned after abandonment of FIFA World Cup qualifier". FIFA.com. 5 October 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-09. สืบค้นเมื่อ 5 October 2015.
  12. "Palestine to play Saudi Arabia and Malaysia on neutral ground". FIFA.com. 4 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-23. สืบค้นเมื่อ 2020-09-27.
  13. "Amman the venue for Palestine qualifiers". FIFA.com. 5 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-07. สืบค้นเมื่อ 2016-04-08.
  14. "足协公布FIFA确认函 敲定国足客战马代易地沈阳" [FIFA confirmed that the Maldives vs. China match would be played in Shenyang, China] (ภาษาจีน). Sohu. 20 August 2015.
  15. 15.0 15.1 "DISCIPLINARY OVERVIEW – 2018 FIFA WORLD CUP RUSSIA™ QUALIFIERS" (PDF). FIFA. 1 February 2016. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "india sanctioned" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  16. 16.0 16.1 "Crisis-Hit Countries Can Play World Cup Qualifiers in Iran". persianfootball.com. 29 April 2015.
  17. "Japan, Singapore approve swapping venues for World Cup qualifiers". The Japan Times. 24 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-24. สืบค้นเมื่อ 2016-04-08.
  18. "Neutral venues set for Japan matches". The Japan News. 26 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-28. สืบค้นเมื่อ 2016-04-08.
  19. "Current allocation of FIFA World Cup™ confederation slots maintained". FIFA.com. 30 May 2015.
  20. "Impact of Football Association of Indonesia suspension". AFC. 3 June 2015.
  21. "FIFA reschedules Vietnam, Thailand match". Dantri International. 28 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-04-08.
  22. "FIFA confirms Afghanistan, Myanmar choice of neutral venues for World Cup qualifiers". Zurich: Daily Reporter. Associated Press. 11 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-18. สืบค้นเมื่อ 12 May 2015.
  23. "Qatar agrees to host joint Asian, World Cup qualifiers". Kuwait Times. 22 August 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-11. สืบค้นเมื่อ 2016-04-08.
  24. "فيفا يؤكد عدم اقامة مباراة مينمار" (ภาษาอาหรับ). Kuwait Football Association. 9 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-13. สืบค้นเมื่อ 13 November 2015.
  25. "Kuwait sanctioned after unplayed FIFA World Cup™ qualifier". FIFA. 13 January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-07. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  26. "FIFA sanctions several football associations after discriminatory chants by fans" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-01-22. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  27. "World Cup qualifier vs. Kuwait postponed due to sanctions" (ภาษาอังกฤษ). Yonhap News Agency. 11 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 March 2016.
  28. "FIFA statement on Kuwait qualifiers". FIFA.com. 14 March 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-11. สืบค้นเมื่อ 18 March 2016.
  29. 29.0 29.1 "Yemen sanctioned for fielding ineligible player". FIFA. 6 July 2015. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "yemen sanctioned" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  30. "Yemen football team flees war by boat to make World Cup 2018 qualifier with North Korea". ibtimes.co.uk. 4 June 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]