ข้ามไปเนื้อหา

สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล

พิกัด: 3°3′17″N 101°41′28″E / 3.05472°N 101.69111°E / 3.05472; 101.69111
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล
Stadium Kebangsaan
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิลในช่วงฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน รอบชิงชนะเลิศ 2018
แผนที่
ที่ตั้งบูกิตจาลิล กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
ขนส่งมวลชน SP17  สถานีรถไฟรางเบาบูกิตจาลิล
เจ้าของรัฐบาลมาเลเซีย
ผู้ดำเนินการเมืองกีฬากัวลาลัมเปอร์
ความจุ100,000 (1998–2017)
90,000 (ใช้เพียง 87,500 ที่นั่ง) (2017–ปัจจุบัน) [3]
สถิติผู้ชม98,543 (มาเลเซีย ปะทะ อินโดนีเซีย, 26 ธันวาคม ค.ศ. 2010) 90,000 (มาเลเซีย ปะทะ สิงคโปร์, 22 กรกฎาคม ค.ศ. 2011)
ขนาดสนาม105 โดย 68 เมตร (344 โดย 223 ฟุต)
พื้นผิวสนามหญ้า Zeon Zoysia
ลู่
ป้ายแสดงคะแนนแผงไฟ LED โดยซัมซุง[1]
การก่อสร้าง
ก่อสร้าง1 มกราคม 1995; 29 ปีก่อน (1995-01-01)
เปิดใช้สนาม11 กรกฎาคม 1998; 26 ปีก่อน (1998-07-11)
ปรับปรุง1998, 2015–2017
เปิดใหม่กรกฎาคม 2017; 7 ปีที่แล้ว (2017-07)
งบประมาณในการก่อสร้าง1 พันล้านริงกิต[2]
สถาปนิกArkitek FAA
Weidleplan Consulting Gmbh
Schlaich Bergermann Partner
Populous ร่วมกับ RSP KL (บูรณะ ค.ศ. 2017)
ผู้รับเหมาหลักUEM Group
Malaysian Resources Corporation Berhad (บูรณะ ค.ศ. 2017)
การใช้งาน
ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย (1998–ปัจจุบัน)
Malaysia Valke (2020)

สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล (มลายู: Stadium Nasional Bukit Jalil, ستاديوم ناسيونل بوکيت جليل) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ในบูกิตจาลิล กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มีความจุ 87,500 ที่นั่ง[4] ถือเป็นสนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใหญ่เป็นอันดับ 4 ในเอเชีย และใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของโลก[5]

สนามกีฬานี้เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการโดยมาฮาดีร์ โมฮามัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซียในขณะนั้น เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 ก่อนหน้ากีฬาเครือจักรภพ 1998 และจัดพิธีเปิดในนี้[4][6] นับตั้งแต่นั้นมา สนามกีฬานี้ยังกลายเป็นสนามกีฬาหลักสำหรับกิจกรรมกีฬานานาชาติอื่น ๆ เช่น ซีเกมส์ 2001 และซีเกมส์ 2017[7] และปัจจุบันเป็นที่จัดการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติมาเลเซียส่วนใหญ่ การแข่งขันฟุตบอลระดับประเทศ รอบชิงชนะเลิศอย่างมาเลเซียเอฟเอคัพ มาเลเซียคัพ กิจกรรมกีฬาและคอนเสิร์ตดนตรี

ภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Samsung.com – National Stadium, KL Sports City".
  2. "Bukit Jalil National Stadium – Malaysia | Football Tripper". Football Tripper (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 12 July 2014. สืบค้นเมื่อ 26 August 2017.
  3. "'This is a football stadium, not a concert stadium': Sports fans in Malaysia protest upcoming Jay Chou concert". AsiaOne. 6 January 2023. สืบค้นเมื่อ 5 June 2023.
  4. 4.0 4.1 "National Sport Complex". kiat. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2012. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2012.
  5. "The Largest Football (Soccer) Stadiums In The World". WorldAtlas (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.
  6. "Perbadanan Stadium Malaysia – National Stadium". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 December 2017. สืบค้นเมื่อ 22 March 2017.
  7. "KL to be main venue for 2017 SEA Games". Free Malaysia Today (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2015. สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.

3°3′17″N 101°41′28″E / 3.05472°N 101.69111°E / 3.05472; 101.69111