Abstract Wikipedia/การประกวดชื่อวิกิที่มีฟังก์ชันเป็นหลัก
Wikifunctions will be the new name for the upcoming wiki.[1] |
วิกิพีเดียเชิงนามธรรม |
---|
(อภิปรายผล) |
ทั่วไป |
แผนการพัฒนา |
|
หมายเหตุร่างการอภิปราย |
|
ตัวอย่างและการจำลอง |
เครื่องมือข้อมูล |
ประวัติศาสตร์ |
กรุณาเลือกชื่อของโครงการวิกิมีเดียใหม่ ซึ่งตอนนี้รู้จักกันในชื่อวิกิแลมบ์ดา ในโครงการนี้จะเป็นหน้าวิกิที่ชุมชนสามารถทำงานร่วมกันในไลบรารีของฟังก์ชันนี้ สร้างฟังก์ชันใหม่ อ่าน อภิปราย และแบ่งปันฟังก์ชัน บางฟังก์ชันจะช่วยสร้างบทความวิกิพีเดียที่ไม่ขึ้นกับภาษา ซึ่งสามารถแสดงผลเป็นภาษาใดก็ได้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Abstract Wikipedia (วิกิพีเดียนามธรรม) ที่อธิบายอยู่ด้านล่าง แต่ฟังก์ชั่นต่าง ๆ ก็จะสามารถใช้งานได้ดีเกินเป้าหมายของวิกิพีเดียนามธรรม
เป้าประสงค์ของการประกวดชื่อนี้คือการสร้างชื่อใหม่และทำให้ผู้คนสามารถเข้าใจในโครงการได้ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ รายละเอียดกระบวนการด้านล่างให้ไว้เพื่อเป็นการช่วยเหลือในการส่งชื่อใหม่เข้าร่วม และนำพาให้ผู้คนอื่นเลือกตัวเลือกที่ดีและเหมาะสมและเข้าใจในความหมายได้ง่ายขึ้น
ข้อเสนอชื่อควรถูกส่งเข้าร่วมภายในวันที่ 29 กันยายน และการคัดเลือกจะแบ่งเป็น 2 รอบ แต่ละรอบจะตามด้วยการตรวจสอบทางกฎหมายของผู้สมัคร การลงคะแนนรอบแรกและรอบที่สองจะเริ่มต้นในวันที่ 29 กันยายน (โดยการลงคะแนนล่วงหน้าในวันที่ 22 กันยายน) และ 2 พฤศจิกายน และเราตั้งเป้าว่าจะได้ชื่อใหม่ภายในวันที่ 14 ธันวาคม
[Update] We are very happy to announce on 22 December that the communities' selection of the name "Wikifunctions" will be the new name for the upcoming wiki.
ฟังก์ชันในที่นี้หมายความว่าอย่างไร
"ฟังก์ชัน" เป็นศัพท์เรียกในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือสิ่งที่ใช้สำหรับการคำนวนตามข้อมูลที่ได้รับ ฟังก์ชันจะเป็นฟอร์มของความรู้ที่สามารถตอบคำถามได้ เช่นจำนวนวันระหว่างวันสองวันหรือระยะทางระหว่างสองเมือง ฟังก์ชันที่ซับซ้อนมากขึ้นจะทำให้ทำการคำนวนคำถามดังที่กล่าวได้มากขึ้น เช่นพื้นที่ในกรอบที่สร้างจากจุดสามจุด ระยะห่างของดาวอังคารและดาวศุกร์ในวันที่ระบุ หรือเปรียบเทียบจำนวนของสปีชีย์สองชนิดและคำนวนในครั้งเดียว เราเคยใช้สิ่งเหล่านี้มาก่อนเช่นแม่แบบ {{convert}} และ {{อายุ}} ที่ปัจจุบันถูกใช้ในวิกิจำนวนมากและถูกเขียนในภาษาลูอาแล้วคัดลอกไปในหลาย ๆ วิกิ
ตัวอย่างฟังก์ชันต่าง ๆ สามารถดูได้ที่ Abstract Wikipedia/Early function examples และตัวอย่างอิเตอร์เฟซแบบคร่าว ๆ ดูได้ที่ Abstract Wikipedia/Early mockups
สั้น ๆ คือฟังก์ชันไว้ใช้คำนวนจากข้อมูลที่ได้รับ แล้วส่งค่าที่คำนวนได้กลับ แค่นั้นเอง
โครงการวิกิมีเดียใหม่นี้จะสร้างไลบรารีของฟังก์ชันที่เขียนโดยอาสาสมัคร เพื่อประมวลผลและตอบสิ่งสอบถามระหว่างภาษา โดยการสร้างฟังก์ชันของเรา เราสามารถให้ผู้คนมากมายสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลเสรีนี้ได้ในวิธีใหม่ แต่ ก่อนจะทำเช่นนั้น เราต้องการชื่อดี ๆ สักชื่อสำหรับโครงการนั้นของเรา กรุณาเข้าร่วมการอภิปรายและเลือกตัวเลือกที่คุณคิดว่าเหมาะสมที่สุด
วิกิพีเดียนามธรรมคืออะไร
คำว่า "วิกิพีเดียนามธรรม" ถือเป็นคำแปลอย่างไม่เป็นทางการในภาษาไทยจากคำว่า Abstract Wikipedia ก่อนการอภิปรายอีกครั้ง ซึ่ง "Abstract Wikipedia" ซึ่งสื่อถึงเป้าประสงค์ของในระยะยาวที่มีจุดมุ่งหมายจะใช้ฟังก์ชันที่เราได้สร้างนำมาใช้กับบทความที่ไม่ขึ้นกับภาษา เมื่อเราไปถึงอนาคตแล้ว ในจุดนั้น อาสาสมัครในภาษาต่าง ๆ จะสามารถสร้างเนื้อหาในภาษาใดก็ได้ รวมไปถึงเพิ่มจำนวนบทความในวิกิขนาดเล็กถึงขนาดกลาง และยังสามารถให้ผู้แก้ไขแบ่งปันความรู้และวัฒนธรรมของพวกเขาได้มากขึ้นและกว้างขวางขึ้นอีก
วิกิของฟังก์ชันนี้จะทำการตระเตรียมสิ่งที่จำเป็นและพัฒนาให้เป้าประสงค์นั้นของเราสามารถเกิดขึ้น และวิกิพีเดียนามธรรมจะเริ่มต้นในอีกหนึ่งปีหลังจากนี้
กล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเราจะสร้างฟังก์ชันจากวิกิใหม่นี้ ด้วยข้อมูลและสารสนเทศจากวิกิสนเทศ เพื่อให้ได้ข้อความที่เป็นธรรมชาติในภาษาใด ๆ ที่รองรับ และประโยคที่สร้างเหล่านั้นจะสามารถใช้ได้โดยโครงการวิกิพีเดียใดก็ได้ (หรือสถานที่อื่นใดก็ได้เช่นกัน)
รายละเอียดอื่นเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการนี้สามารถดูได้ที่หน้าของวิกิพีเดียนามธรรม ซึ่งในขณะนี้เรายังไม่ได้ทำการประกวดชื่อของโครงการนี้ แต่กำลังหาชื่อของโครงการวิกิใหม่ที่เกี่ยวกับฟังก์ชันก่อน
ไทม์ไลน์
- 15 กันยายน: เผยแพร่หน้านี้และขอข้อเสนอแนะ ให้ผู้แปลภาษาเริ่มแปล และให้อาสาสมัครที่ทราบหลายภาษาจะตรวจสอบข้อเสนอระหว่างช่วงการส่งนี้
- 22 กันยายน: เปลี่ยนการเตือนจากเพิ่งประกาศเป็นกรุณาส่งข้อเสนอและเตรียมการสำหรับการลงคะแนน
- 29 กันยายน: เริ่มต้นการเผยแพร่คำเชิญชวนลงคะแนนรอบแรก
- 13 ตุลาคม: สิ้นสุดการลงคะแนนรอบแรก และเริ่มต้นการตรวจสอบทางกฎหมายครั้งที่ 1
- 2 พฤศจิกายน: เริ่มต้นการลงคะแนนรอบที่สอง
- 16 พฤษจิกายน: สิ้นสุดการลงคะแนนรอบที่สอง และการตรวจสอบทางกฎหมายครั้งที่ 2
- 14 ธันวาคม: ประกาศชื่อโครงการใหม่ และเริ่มต้นกระบวนการประกวดโลโก้
เงื่อนไขการตั้งชื่อของข้อเสนอชื่อ
- ชื่อควรจะมีการอ้างถึงหรือเชื่อมโยงถึงเป้าหมายของวิกิ ซึ่งคือการที่จะเป็นสถานที่รวบรวมฟังก์ชัน ชื่อที่ดีควรจะคล้ายกับว่า
- ใช้ประโยชน์จากเงื่อนไขการเคลื่อนไหวที่โดดเด่นและเป็นที่รู้จักกันเช่น "Wiki" (วิกิ)
- เน้นรายละเอียดสำคัญของโครงการ (เช่นลองนึกถึงคำว่า "data" ใน "Wikidata") เพื่อให้เมื่อผู้อ่านได้ยินหรืออ่านพบจะสามารถคาดเดาจุดมุ่งหมายของโครงการได้
- เป็นคำที่อ่านง่ายและสะกดง่าย (ข้อควรจำ: ในอนาคตจะมีการใช้คำนี้อย่างบ่อยครั้ง)
- ชื่อไม่ควรเน้นหนักไปทางเป้าหมายของวิกิพีเดียนามธรรมเพียงอย่างเดียว แต่ควรมีการสะท้อนถึงว่าฟังก์ชันจะถูกนำไปใช้ในหลายรูปแบบและสถานที่ที่หลากหลาย
- ชื่อต้องแปลเป็นภาษาอื่นได้อย่างดี
- กลุ่มของอาสาสมัครจะตรวจสอบแต่ละข้อเสนอในภาษาของตน และเพิ่มหมายเหตุหากมีข้อโต้แย้งใด ๆ
- สามารถนำมาใช้เป็นชื่อโดเมนหรือชื่อโดเมนรองได้
- วิกิอาจถูกสร้างขึ้นที่ "foo.org" หรือที่ "foo.wikimedia.org" เรายังไม่ได้ตัดสินใจว่าจะเลือกที่ใดระหว่างที่เรากำลังพิจารณาความเป็นไปได้ทางเทคนิคและทางกฎหมาย
- ชื่อจะต้องไม่ละเมิดสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาของบุคคลที่สามใด ๆ และจะต้องได้รับการตรวจสอบขั้นสุดท้ายโดยที่ปรึกษากฎหมายเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มี
กฎของการเสนอชื่อ
- จำนวนการส่ง ระหว่างในระยะรับการส่งใหม่คุณสามารถส่งเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้เท่าที่ต้องการ (ตัวเลือกที่ซ้ำกันจะถูกนำออกก่อนการลงคะแนน)
- ยอมรับในข้อตกลงดังนี้โดยปริยายเมื่อส่งเข้าร่วม
- (ก) โดยการส่งเข้าร่วม เราถือว่าคุณได้อ่านและยอมรับในข้อกำหนดเหล่านี้
- (ข) โดยการส่งชื่อเข้าร่วม คุณยอมรับที่จะเซ็นสัญญามอบสิทธิ์ทั้งหมดของชื่อที่คุณคิดแก่มูลนิธิวิกิมีเดีย รวมไปถึงสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า สิทธิ์การเผยแพร่ และทรัพย์สินทางปัญญา หรือกรรมสิทธิ์อื่น ๆ ด้วย
- (ค) คุณรับประกันว่าคุณ (หรือมูลนิธิวิกิมีเดีย) เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในชื่อ เครื่องหมายการค้า การประชาสัมพันธ์ และสิทธิ์ทางปัญญาและกรรมสิทธิ์อื่น ๆ ซึ่งสร้างมาจากความคิดอันลึกแท้ยิ่งแล้วของคุณ โดยจะไม่เกิดเหตุการอันละเมิดสิทธิ์ใด ๆ ของบุคคลที่สามใด ๆ
- ข้อพิพาท แม้ว่าเราหวังว่าจะไม่มีข้อพิพาทระหว่างคุณกับมูลนิธิวิกิมีเดีน แต่เราจำเป็นต้องกำหนดกฎเกณฑ์บางประการเกี่ยวกับวิธีการจัดการข้อพิพาทใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น การเข้าร่วมในกระบวนการคัดเลือกชื่อแสดงว่าคุณยอมรับว่าการส่งของคุณการมอบหมายสิทธิ์ของคุณและข้อพิพาทใด ๆ จะอยู่ภายใต้กฎหมายของสหรัฐอเมริกาและจะถูกนำขึ้นศาลที่มีเขตอำนาจศาลในเมืองและเขตในความดูแลของซานฟรานซิสโก ณ แคลิฟอร์เนีย
รายละเอียดกระบวนการตั้งชื่อ
- Submission period. There is early voting during the submission period, and discussion is encouraged. Names may be modified during this period, and derivatives may be submitted. All names must accord to the criteria rules (see below). Please be particularly friendly and constructive during this brainstorming period.
- After this, we introduce two tiers of visibility for the voting: The top ~20 proposals, roughly, by number of supports at this point will be visible on the default (current) voting page. There will then also be a second page with all proposals to vote on that is linked from the main voting page, the second tier.
- During the vote, once every working day or so, we will check if there are any proposals that should be moved to the main voting page or dropped from it. We use some discretion here, but basically if anything has more support than the least supported proposals on the main voting page, it should be on the main voting page.
- Adding completely new proposals will be possible even after September 29, but only to the full list of proposals, i.e. the second tier.
- Elimination round. After the submission period, entries are presented in randomized display for at least one week of voting.
- Each voter may vote for as many as they want.
- Finalist review. After the top six submissions by vote are determined, legal counsel will make an initial cursory review of the top six names for any legal issues, the ability to be registered as a global trademark, and make a determination as to suitability.
- Final vote. As many as six names may be entered into the one-week final vote and presented in randomized display for voting. Votes will be counted using the Instant-runoff method. Voters provide a ranking of the proposals.
- Final legal review. Legal counsel will make an in-depth review of the top name. If, in the discretion of legal counsel, the top choice name is not appropriate, because of legal concerns (trademark, copyright, etc), the name will be withdrawn from consideration (with a public explanation for why) and the second choice name will be reviewed using the same criteria. If the second choice name is unacceptable, legal counsel will continue down the list to the first available and clear name.
ข้อกำหนดและกฎการลงคะแนน
Each person may vote from only one account. In the first round of voting you may vote for as many names as you like. In the second round of voting you rank the choices. You can use the gadget (if on a desktop browser), or you can manually vote by ranking all six candidates (listed them by number in descending order of preference) followed by your signature in a single line. If you vote multiple times and change your mind, only your last vote line will be taken into account.
You may vote from any one registered account you own on a Wikimedia wiki (you may only vote from a single account, regardless of how many accounts you own, although you may vote for as many names as you'd like). To qualify, this one account must:
- not be blocked on more than one project; and
- not be a bot; and
- have made at least 25 edits as of 1 September, 2020 on any public Wikimedia production wiki (like Wikipedia, Commons, Wikisource, etc).
Current and former members of the Board of Trustees and the Advisory Board of the Wikimedia Foundation are qualified to vote.
Second round vote tallying: Up to six candidates will enter the second voting round. At the end of the voting period, using a modification of the instant-runoff system, the first (or only) choice of each voter will be counted and used to order the submissions by preference. Each first (or only) choice counts as one vote for the chosen submission. If, at this point, there is a simple majority, this submission will enter the final legal review. If there is no simple majority, the submission with the fewest votes will be eliminated, and all votes who expressed a first choice for this submission will be recounted for their second choice. This will be repeated until a submission has a simple majority of all remaining votes. The resulting submission will then undergo final legal review. In case the submission fails the legal review, we simply eliminate that submission first and start the counting process anew, until a submission passes final legal review. No third round of voting is planned.
Round 1 results
176 proposals were submitted, and more than 500 votes tallied over these.
The 6 finalist names from Round 1 were:
- Wikilambda
- Wikifunctions
- Wikimedia Functions
- Wikicode
- Wikifusion
- Wikicodex
Read more in the weekly update.
Round 2 vote
Voting has now closed. The names will now be sent for a final legal review. The new name will be announced in mid-December.
You can read notes about the names that were provided by the Wikimedia Foundation's Legal and Communications departments, and see the voting record.
The top results were:
- Wikifunctions
- Wikimedia Functions
More details about the calculation of the results are in the 8th edition of the newsletter.
ขอบคุณ!
- ↑ Initially known as Wikilambda, the new name was selected at end of 2020 in a community contest. Wikifunctions is treated as a singular proper noun, however it may be translated.