40101551_1_20200708-173717
40101551_1_20200708-173717
40101551_1_20200708-173717
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิชา ภาษาไทย ๓ เทอม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓
อิงแนวคิด Backward Design
จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา
๖๐ ชั่วโมง / ภาคเรียน
หน่วย
การ เวลา
เรียน ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (ชั่วโม
รู้ ง)
ที่
๑ ระดับภาษา ๔
๒ คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ ๔
๓ การใช้ศัพท์ทางวิชาการ และ ๔
วิชาชีพ
๔ การฟังและการดูเพื่อส่งเสริม ๓
จินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
๕ การพูด ๕
๖ ประเภทของการเขียน ๕
๗ การเขียนรายงานและการกรอกแบบ ๕
สมัครงาน
๘ การอ่านบทร้อยกรอง ๕
๙ การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรม ๔
ท้องถิ่น
๑๐ บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ๗
๑๑ บทพากย์เอราวัณ ๕
๑๒ อิศรญาณภาษิต ๕
สอบกลางภาค / สอบปลายภาค ๔
รวม ๖๐
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้
วิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
เวลา ๖๐ชั่วโมง / ภาคเรียน
จำ
ชื่อแผนการ นวน
แผน เป้าหมายการเรียน
จัดการเรียน (ชั่
ที่ รู้
รู้ วโม
ง)
๑ ระดับภาษา ๑. ระดับของภาษา ๔
ทั้ง ๕ ระดับ
๒. ข้อควรคำนึงในการ
ใช้ภาษาในสังคม
๒ คำทับศัพท์ ๑. วิธีการยืมคำภาษา ๔
และศัพท์ ต่างประเทศมาใช้
บัญญัติ ๒. วิธีสร้างศัพท์
บัญญัติ
๓. การใช้คำทับศัพท์
และศัพท์บัญญัติ
๓ การใช้ศัพท์ ๑. คำศัพท์ทาง ๔
ทางวิชาการ และ วิชาการและวิชาชีพ
วิชาชีพ สาขา ต่างๆ
๔ การฟังและการ ๑. จินตนาการและความ ๓
ดูเพื่อส่ง คิดสร้างสรรค์
เสริมจินตนาการ ๒. หลักการฟังและการ
และความคิด ดูเพื่อส่งเสริม
สร้างสรรค์ จินตนาการและความ
คิดสร้างสรรค์
๕ การพูด ๑. การพูดโต้วาที ๕
๒. การพูดอภิปราย
๓. การพูดโน้มน้าวใจ
๔. มารยาทในการพูด
๖ ประเภทของการ ๑. การเขียนอธิบาย ๕
เขียน ชี้แจง แสดงความ คิด
เห็น และโต้แย้งใน
เรื่องต่างๆ
๒. การเขียนวิเคราะห์
วิจารณ์
จำ
ชื่อแผนการ นวน
แผน เป้าหมายการเรียน
จัดการเรียน (ชั่
ที่ รู้
รู้ วโม
ง)
๗ การเขียน ๑. การเขียนรายงานจาก ๕
รายงานและการก การศึกษาค้นคว้า
รอกแบบสมัคร ๒. การเขียนรายงาน
งาน โครงงาน
๓. การกรอกแบบสมัคร
งาน
๔. มารยาทในการเขียน
๘ การอ่านบทร้อย ๑. ความหมายของบทร้อย ๕
กรอง กรอง
๒. แนวทางการพิจารณา
บทร้อยกรอง
๓. การอ่านและพิจารณา
บทร้อยกรอง เรื่อง “
เด็กน้อยในเมือง
ใหญ่”
๙ การศึกษา ๑. ความหมายของ ๔
วิเคราะห์ วรรณกรรมท้องถิ่น
วรรณกรรมท้อง ๒. ประเภทของวรรณกรรม
ถิ่น ท้องถิ่น
๓. ลักษณะของวรรณกรรม
ท้องถิ่น
๔. ประโยชน์ในการ
ศึกษาวรรณกรรม
ท้องถิ่น
๑๐ บทละครพูด ๑. ความรู้ทั่วไป ๗
เรื่องเห็นแก่ เกี่ยวกับบทละครพูด
ลูก เรื่อง เห็นแก่ลูก
๒. ลักษณะคำประพันธ์
๓. เนื้อหา
๔. วิเคราะห์คุณค่าบท
ละครพูดเรื่อง
เห็นแก่ลูก
๑๑ บทพากย์ ๑. ความรู้ทั่วไป ๕
เอราวัณ เกี่ยวกับบทพากย์
เอราวัณ
๒. ลักษณะคำประพันธ์
๓. เนื้อหา
๔. วิเคราะห์คุณค่าบท
พากย์เอราวัณ
๕. บทอาขยานจากเรื่อง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
บอกความหมายของระดับภาษา จำแนกระดับภาษาทั้ง ๕
ระดับ และใช้ภาษาระดับต่างๆได้ถูกต้องเหมาะสมกับ
กาลเทศะ
๒. สาระสำคัญ
การสื่อสารอย่างสัมฤทธิผล ผู้ส่งสารจะต้องรู้ว่า
เขียนหรือพูดอยู่กับใคร โอกาส สถานที่ใด เพื่อจะ
ได้พิจารณาถึงเนื้อความที่จะส่ง และวิธีส่งสาร
ว่าจะเลือกภาษาระดับใด จึงจะบรรลุตาม
วัตถุประสงค์
ในการสื่อสาร
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก
ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย
ไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๓. วิเคราะห์ระดับภาษา
๔. สาระการเรียนรู้
ระดับภาษา
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. บอกความ ๑. จำแนก ๑.รักชาติ
หมายของระดับ ระดับภาษาทั้ง ศาสน์
ภาษา ๕ ระดับได้ กษัตริย์
๒. เห็น ๒. ใช้ภาษา ๒.ซื่อสัตย์
ประโยชน์ของ ระดับต่างๆได้ ๓.มีวินัย
การใช้ เหมาะสมกับ ๔.ใฝ่เรียนรู้
ระดับภาษา กาลเทศะ ๕.อยู่อย่างพอ
ได้เหมาะสม เพียง
กับกาลเทศะ ๖.มุ่งมั่นใน
การทำงาน
๗.รักความเป็น
ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. บทสนทนา
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนฟังเพลง “รักกันไว้เถิด” (นคร
ถนอมทรัพย์) ช่วง ๒ ตอนแรกซึ่งมีเนื้อหาดังนี้
“รักกันไวเถิดเราเกิดร่วมแดนไทย จะ
เกิดภาคไหนๆ
ก็ไทยด้วยกัน เชื้อสายประเพณีไม่มีขีด
ขั้น
เกิดใต้ธงไทยนั้นปวงชนทุกคนคือไทย
ท้องถิ่นแหลมทองเหมือนท้องของแม่
เกิดถิ่นเดียวกันแท้ ล้วนแม่เดียวกันใช่
ไหม
ยามฉันมองตาคุณอบอุ่นดวงใจ
เห็นสายเลือดไทย ในสายตาบอกสายสัมพันธ์”
๒) ครูถามนักเรียนว่า บทเพลงข้างต้นเป็นภาษา
ระดับใด นักเรียนพบการใช้ภาษาในระดับนี้จากที่ใด
บ้าง
๓) ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
๔) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน ศึกษาเรื่อง
ระดับภาษา จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
จำกัด หน้า ๒ – ๖ โดยให้นักเรียนแบ่งหัวข้อศึกษา
คนละ ๑ หัวข้อ ดังนี้
ภาษาระดับพิธีการ
ภาษาระดับมาตรฐานราชการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ
ภาษาระดับสนทนา
ภาษาระดับกันเอง / ภาษาปาก
๒) เมื่อนักเรียนแต่ละคนศึกษาตามหัวข้อที่
กำหนด แล้วให้นักเรียนแต่ละคนแลกเปลี่ยนความรู้
ที่ได้ศึกษากับสมาชิกในกลุ่ม
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑.๑ และ ๑.๒ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์ เอมพันธ์ จำกัด
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องระดับภาษา และบันทึกความรู้ลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องระดับภาษา ทั้ง ๕ ระดับ ที่ได้ศึกษา จากคาบ
เรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน และหาตัวอย่าง
สารที่มีการใช้ระดับภาษา ทั้ง ๕ ระดับ อย่างละ ๑
ตัวอย่าง จากห้องสมุด หรือสื่ออินเทอร์เน็ต
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำตัวอย่างสารที่มีการ
ใช้ระดับภาษาทั้ง ๕ ระดับ มาอ่านให้เพื่อนๆกลุ่ม
อื่นๆฟัง เพื่อนนักเรียนทายว่าสารที่ได้ฟังนั้น
ใช้ภาษาระดับใด
๓) นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยคำตอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับอีกครั้ง
๒) นักเรียนทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
หน่วยที่ ๑ ข้อ เป็นการบ้าน
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดกิจกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้ หน่วยที่ ๑ ข้อ ๘ และ ๙ ที่
เป็นการบ้านเมื่อคาบเรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๒ กลุ่ม กลุ่มหนึ่ง
ชื่อว่า “มาตรฐานราชการ” กลุ่มสองชื่อว่า “กันเอง”
๒) ครูให้นักเรียนทั้งสองกลุ่มแต่งบทสนทนา
โต้ตอบกันบนกระดานดำเกี่ยวกับเรื่อง
ภาวะโลกร้อน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้ภาษา
ระดับเดียวตามชื่อกลุ่มในการแต่งบทสนทนา
๓) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน ๑ คน ออกมา
อ่านบทสนทนาโต้ตอบกัน
๔) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า บท
สนทนาที่แต่งขึ้น มีข้อบกพร่องอย่างไรบ้าง
๕) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ข้อควรคำนึงใน
การใช้ภาษาในสังคม จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๖ - ๗
๖) ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้แก่นักเรียน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ไดรับ
๒) นักเรียนทำใบงานที่ ๑.๓ และ ๑.๕ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป็นการบ้าน
ชั่วโม
งที่ ๔
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง ข้อควรคำนึงในการใช้ภาษาให้ถูกระดับของ
ภาษา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน เพื่ออภิปราย
กลุ่มย่อยเรื่อง “เราใช้ภาษาเพียงระดับเดียว
ในสังคมได้หรือไม่”
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มออกมา
รายงานผลการอภิปรายที่หน้าชั้นเรียน
๓) นักเรียนสรุปผลการอภิปราย และบันทึกความรู้
ลงสมุดภาษาไทย
๔) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๑ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๕) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนร่วมกันสรุปว่า จะนำความรู้ที่ได้
รับจากการศึกษาเรื่อง ระดับภาษา ไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างไร
๒) นักเรียนบันทึกความรู้ลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้าข้อมูล และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในเรื่องภาวะโลก
ร้อน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง คำ
ทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ เวลา ๔
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
บอกความหมายคำทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ อธิบาย
วิธีการสร้างศัพท์บัญญัติ และใช้คำทับศัพท์
และศัพท์บัญญัติในภาษาไทยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๒. สาระสำคัญ
ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับต่างประเทศด้วย
เหตุผลหลายประการ จึงมีการยืมคำภาษาต่างประเทศมา
ใช้ด้วยวิธีการทับศัพท์และบัญญัติศัพท์ขึ้นมาใช้
ทั้งในวงวิชาการและทั่วไป การศึกษาเรื่อง
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ จะช่วยให้ใช้ภาษาได้
ถูกต้องตามระดับของภาษา
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา
ไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย
ไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๔. ใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
๔. สาระการเรียนรู้
1. คำทับศัพท์
2. คำศัพท์บัญญัติ
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. บอกความ ๑. ใช้คำทับ ๑.รักชาติ
หมายของคำ ศัพท์ และ ศาสน์
ทับศัพท์ และ ศัพท์ บัญญัติ กษัตริย์
ศัพท์บัญญัติ ได้ถูกต้อง ๒.ซื่อสัตย์
๒. บอกที่มา เหมาะสม ๓.มีวินัย
ของคำทับ ๔.ใฝ่เรียนรู้
ศัพท์ ๕.อยู่อย่างพอ
๓. อธิบายวิธี เพียง
การสร้างศัพท์ ๖.มุ่งมั่นใน
บัญญัติใน การทำงาน
ภาษาไทย ๗.รักความเป็น
๔. บอก ไทย
ประโยชน์ของ ๘.มีจิต
การใช้ คำทับ สาธารณะ
ศัพท์ และ
ศัพท์ บัญญัติ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. ผลการศึกษาคำทับศัพท์จากหนังสือพิมพ์รายวัน
๔. ผลการบัญญัติศัพท์ใหม่
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนพิจารณาบัตรคำ ๑๒ คำที่
กำหนดให้ ดังนี้
๒) ครูบอกนักเรียนว่า ครูต้องการจำแนกบัตรคำ
ออกเป็น ๒ กลุ่ม ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่า ครูจะ
จำแนกบัตรคำอย่างไร
๓) ครูเฉลยการจำแนกคำ ๒ กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๒
เก๊กฮวย นิตยสาร
คอมพิวเต ดาวเทียม
อร์
ปาเต๊ะ
เชิ้ต อุทกภัย
ไฟฟ้า
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปเมื่อคาบ
เรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน แล้วหาคำทับ
ศัพท์เพิ่มเติมจากหนังสือพิมพ์รายวัน กลุ่มละ๒๐
คำ พร้อมทั้งบอกความหมาย และภาษาที่มาของคำทับ
ศัพท์นั้นๆ
๒) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานผลการค้นหา
คำทับศัพท์ที่หน้าชั้นเรียน และร่วมกัน
ทำสถิติว่า คำทับศัพท์ภาษาใดมีมากน้อยที่สุดใน
การค้นคว้าครั้งนี้
๓) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๒.๓ และ ๒.๔ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว และ
บันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนพิจารณา คำศัพท์ต่อไปนี้
ว่าที่มาจากภาษาอะไร และคำเดิมคือคำอะไร
จักรยาน ดาวเทียม
๒) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ ดังนี้
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำศัพท์ทาง
วิชาการ บอกความหมาย จำแนกแขนงคำศัพท์
ทางวิชาการ และใช้คำศัพท์ทางวิชาการได้ถูกต้อง
เหมาะสม
๒. สาระสำคัญ
การยืมคำภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทยผ่าน
ทางด้านการศึกษา จะมีการใช้คำศัพท์
ทางวิชาการ และวิชาชีพเป็นจำนวนมาก คำศัพท์
เหล่านั้นมีทั้งคำทับศัพท์และคำศัพท์บัญญัติตาม
สาขาวิชาชีพต่างๆ
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๒. เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับ
ภาษา
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา
ไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ
ชาติ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๕. อธิบายความหมายคำศัพท์ทางวิชาการ และวิชาชีพ
๔. สาระการเรียนรู้
คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. บอกความ ๑. จำแนกแขนง ๑.รักชาติ
หมายของ คำ คำศัพท์ทาง ศาสน์
ศัพท์ทาง วิชาการ กษัตริย์
วิชาการ ๒. ใช้คำ ๒.ซื่อสัตย์
๒. เห็น ศัพท์ทาง ๓.มีวินัย
ประโยชน์จาก วิชาการได้ ๔.ใฝ่เรียนรู้
การศึกษา ถูกต้อง ๕.อยู่อย่างพอ
เรื่องคำ เหมาะสม เพียง
ศัพท์ทาง ๖.มุ่งมั่นใน
วิชาการ การทำงาน
๗.รักความเป็น
ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. งานเขียนนิทานหรือเรื่องสั้น
๔. แผนภาพความคิด
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการใช้ศัพท์
ทางวิชาการ หรือทางวิชาชีพ ว่านักเรียนสามารถ
พบเห็นได้เสมอ ได้เฉพาะในการเรียนวิชาต่างๆ เช่น
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเรียน
ควรศึกษาคำศัพท์เหล่านั้นไว้ เพื่อเป็นความรู้
และประโยชน์ในการสื่อสาร
๒) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างศัพท์ทาง
วิชาการ หรือทางวิชาชีพ และเขียนคำศัพท์เหล่า
นั้นบนกระดานดำ
๒) ครูตรวจ คำศัพท์เหล่านั้นว่าเป็นศัพท์ทาง
วิชาการ หรือทางวิชาชีพ หรือไม่
๓) จากคำศัพท์ที่ยกตัวอย่าง ครูให้นักเรียน
อธิบายความหมายของคำศัพท์ทางวิชาการ
๔) นักเรียนศึกษาความหมายของ ศัพท์ทางวิชาการ
หรือทางวิชาชีพ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม
๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๒๒
๕) นักเรียนศึกษาตัวอย่าง ศัพท์ทางวิชาการ
หรือทางวิชาชีพ แขนงต่างๆ ได้แก่
คำศัพท์ทางการศึกษา
คำศัพท์ทางวิชาการ
คำศัพท์ทางการแพทย์
คำศัพท์ทางธุรกิจ
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
คำศัพท์ทางวรรณคดี
คำศัพท์ทางกฎหมาย
คำศัพท์ทางดนตรี
คำศัพท์วิชาการทั่วไป
คำศัพท์ทางเทคโนโลยี
โดยศึกษาจากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๒๒ – ๒๘
๖) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๓.๑, ๓.๒ และ ๓.๓
จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๗) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง การใช้คำศัพท์ทางวิชาการ หรือทางวิชาชีพ
๒) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๓.๔ และ ๓.๕ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป็นการบ้าน
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้จากการศึกษาเรื่อง การ
ใช้คำศัพท์ทางวิชาการ หรือทางวิชาชีพ
ที่ได้ศึกษาไปแล้วเมื่อคาบเรียนที่ผ่านมา
๒) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ ๓.๔ และ
๓.๕ จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่ได้ทำเป็นการบ้าน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน แล้วหาคำ
ศัพท์ทางวิชาการ หรือทางวิชาชีพ จำนวน ๑๐ คำ
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำคำศัพท์ทางวิชาการ
หรือทางวิชาชีพทั้ง ๑๐ คำที่เลือกขึ้น มาแต่งเป็น
นิทาน หรือเรื่องขนาดสั้น ความยาวประมาณ ๑๕ บรรทัด
๓) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนหน้า
ชั้นเรียน
๔) ครูติชมการทำงานของนักเรียน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนร่วมกันสรุปว่า นักเรียนมีโอกาสใช้
คำศัพท์ทางวิชาการ หรือทางวิชาชีพในโอกาสใดบ้าง
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ คน แล้วรวบรวมคำ
ศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพจากหนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสารต่างๆ โดยให้จำแนกเป็นแขนงวิชาการ
หรือวิชาชีพให้ชัดเจน
๒) นักเรียนนำคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
แขนงต่างๆที่รวบรวมได้มาทำเป็นแผนภาพความคิด
๓) นักเรียนแต่ละกลุ่ม นำเสนอผลงานโดยจัด
แสดงป้ายนิเทศ
๔) ครูประเมินผลการทำงานของนักเรียน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปผลกระบวนการทำงานรวบรวมคำ
ศัพท์และการจัดทำแผนภาพความคิด
มีอุปสรรคปัญหาในการทำงานอย่างไรบ้าง และได้
ประโยชน์อย่างไรจากการศึกษา
ชั่วโม
๑.งที่ ๔
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง “ความ
จำเป็นในการใช้คำศัพท์วิชาการ
และวิชาชีพ”
๒) นักเรียนสรุปผลการอภิปรายและบันทึกลงสมุด
ภาษาไทย
๓) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๓ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนร่วมกันสรุปว่า การใช้คำศัพท์ทาง
วิการ หรือทางวิชาชีพ มีประโยชน์อย่างไร
ในภาษาไทย
๒) นักเรียนบันทึกความรู้ลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารต่างๆ
๔. กระดาษโปสเตอร์ เพื่อใช้ทำแผนภาพความคิด
๕. สีเมจิก
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ในการศึกษาหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร
อันจะทำให้นักเรียนรับทราบข้อมูลข่าวสาร และ
เหตุการณ์ปัจจุบัน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง การฟังและ
การดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการ เวลา ๓
ชั่วโมง
และความคิดสร้างสรรค์
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายวิธีการฟังและการดูเพื่อส่งเสริม
จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ และบอกคุณค่าของ
จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้
๒. สาระสำคัญ
การฟังและการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความ
คิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งสำคัญ จะทำให้นักเรียน
เป็นคนที่มีคุณภาพ อดทน อดกลั้น ช่วยแก้ปัญหาต่างๆ
และนำไปสู่การผลิตงานสร้างสรรค์ ทั้งการพูดและ
การเขียน
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมี
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
3. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
จากการฟัง การดูและการสนทนา
๔. สาระการเรียนรู้
๑. จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
๒. หลักการฟังและการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบายวิธี ๑. ฟังและดู ๑.รักชาติ
การฟังและการ สื่อต่างๆ ศาสน์
ดูเพื่อส่ง เพื่อ ส่ง กษัตริย์
เสริม เสริม ๒.ซื่อสัตย์
จินตนาการ และ จินตนาการและ ๓.มีวินัย
ความคิด ความคิด ๔.ใฝ่เรียนรู้
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ๕.อยู่อย่างพอ
๒. อธิบาย เพียง
คุณค่าของ ๖.มุ่งมั่นใน
จินตนาการ การทำงาน
และความคิด ๗.รักความเป็น
สร้างสรรค์ ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. รูปวาดประกอบเพลง “อิ่มอุ่น”
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูนำตัวอย่างหนังสือและซีดีที่ได้รับความ
นิยมจนมีผู้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์มาแสดงให้
นักเรียนดู เช่น เรื่อง พระอภัยมณี แฮรี่ พอตเตอร์
๒) ครูสนทนากับนักเรียนว่า หนังสือนิทาน เรื่อง
สั้น หรือนิยายทั้งหลาย ส่วนใหญ่เขียนขึ้นจาก
จินตนาการของผู้แต่ง และเมื่อได้รับความนิยมจึงมี
การสร้างเป็นภาพยนตร์ขึ้น ทำให้จินตนาการ
มีรูปร่างที่ชัดเจนขึ้น ทำให้ผู้ชมเข้าถึงได้
ง่ายขึ้น
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนช่วยกันคิดว่า จินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ คืออะไร
๒) นักเรียนศึกษาความหมายของ จินตนาการ และความ
คิดสร้างสรรค์ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม
๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๓๑
๓) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน และร่วมกัน
อภิปรายกลุ่มย่อยว่า จินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์มีประโยชน์อย่างไร โดยใช้หนังสือเรียน
วิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า
๓๑ - ๓๒ ประกอบการอภิปราย
๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานผลสรุปการ
อภิปรายกลุ่มย่อยที่หน้าชั้นเรียน
๕) นักเรียนทำใบงานที่ ๔.๕ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๖) ครูให้นักเรียนศึกษาหลักการฟังและการดู
เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ จาก
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ หน้า ๓๓ – ๓๔
๗) ครูถามคำถามนักเรียนเพื่อทดสอบความเข้าใจ
และอธิบายให้ความรู้เพิ่มเติม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องการฟังและการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์ และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้วใน
คาบเรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนดูรายการโทรทัศน์ ๑ รายการ
ที่แสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ เช่น
ด้านอาหาร สิ่งประดิษฐ์ วรรณกรรม เทคโนโลยี (ตัวอย่
างรายการโทรทัศน์ เช่น กบนอกกะลา ปราชญ์เดินดิน
ภัตตาคารบ้านทุ่ง)
๒) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ ๕ คน แล้วมานำ
เสนอประเด็นความคิดสร้างสรรค์ที่ได้รับจากการชม
รายการโทรทัศน์ที่ครูกำหนดให้ เช่น ความคิดแปลก
ใหม่ ภาษาคมคายกะทัดรัด น่าสนใจ ได้รับรสต่างๆ (ขบ
ขัน ปีติยินดี ซาบซึ้ง เศร้า) ให้ข้อคิดด้านใด ก่อ
ให้เกิดจินตนาการ และนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
๓) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานและความ
คิดเห็นของตนที่หน้าชั้นเรียน
๔) ครูประเมินผล และติชมการทำงาของนักเรียน
แต่ละกลุ่ม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการชม
รายการโทรทัศน์ที่ครูกำหนดให้ร่วมกัน และบันทึก
ลงสมุดภาษาไทย
๒) นักเรียนทำใบงานที่ ๔.๑ และ๔.๓ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนฟังเพลง “อิ่มอุ่น” ของ ศุ บุญ
เลี้ยง และวาดภาพประกอบขณะฟังเพลงตามจินตนาการของ
นักเรียน พร้อมเขียนอธิบายขนาดสั้นๆ ประมาณ ๒ – ๓
บรรทัด
๒) นักเรียนทำใบงานที่ ๔.๒ และ ๔.๔ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓) นักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ที่ได้รับจาก
การฟังเพลงที่ครูกำหนดให้
๔) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๔ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๕) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนร่วมกันสรุปว่า นักเรียนจะนำความ
รู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่อง การฟังและการดู
เพื่อส่งเสริมจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ไป
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร และบันทึก
ลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. กระดาษวาดภาพ
๔. ดินสอ
๕. หนังสือ และซีดี (ภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นจาก
หนังสือที่ได้รับความนิยม เช่น พระอภัยมณี
แฮรี่ พอตเตอร์)
๖. ซีดีบันทึกรายการโทรทัศน์ที่แสดงถึง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ (ตัวอย่างรายการ
โทรทัศน์ เช่น กบนอกกะลา ปราชญ์เดินดิน ภัตตาคาร
บ้านทุ่ง)
๗. ซีดีเพลง “อิ่มอุ่น” ของ ศุ บุญเลี้ยง
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับวิชาศิลปศึกษาในการวาดภาพประกอบเพลง
ตามจินตนาการของนักเรียน และวิชาดนตรี และ
นาฏศิลป์ในการฟังเพลงเพื่อส่งเสริมจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕
เรื่อง การพูด เวลา ๕
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายหลักการพูดโต้วาที การพูดอภิปราย และการ
พูดโน้มน้าวใจ สามารถพูดโต้วาที พูดอภิปรายและพูด
โน้มน้าวใจ ได้อย่างมีมารยาท
๒. สาระสำคัญ
การพูดในโอกาสต่างๆ มีหลายประเภท ได้แก่ การพูด
โต้วาที การพูดอภิปราย มีประโยชน์สำหรับการแสดง
ความรู้ความเข้าใจ แสดงความคิดต่อเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
การพูดแบบกลุ่มก่อให้เกิดความสามัคคี จากการคิด
แก้ไขปัญหาร่วมกัน ในบางครั้งการพูดแบบกลุ่ม
จำเป็นต้องใช้ในการพูดโน้มน้าวใจ เพื่อให้มีผลกระ
ทบใจบุคคล เพื่อให้เกิดการยอมรับหรือเปลี่ยน
ทัศนคติบางประการ
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมี
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความ
รู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๔. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
๕. พูดโน้มน้าวโดยนำเสนอหลักฐานตามลำดับ
เนื้อหาอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
๔. สาระการเรียนรู้
1. การพูดโต้วาที
2. การพูดอภิปราย
3. การพูดโน้มน้าวใจ
4. มารยาทในการพูด
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบาย ๑. พูดโต้วาที ๑.รักชาติ
หลักการพูด พูดอภิปราย ศาสน์
โต้วาที การ และพูดโน้ม กษัตริย์
พูดอภิปราย และ น้าวใจ ๒.ซื่อสัตย์
การพูด ๒. มีมารยาทใน ๓.มีวินัย
โน้มน้าวใจ การพูด ๔.ใฝ่เรียนรู้
๒. เห็นคุณค่า ๕.อยู่อย่างพอ
และประโยชน์ เพียง
ของการพูด ๖.มุ่งมั่นใน
การทำงาน
๗.รักความเป็น
ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างการโต้วาที (จาก
ซีดีการศึกษา หรือจากอินเทอร์เน็ต)
๒) ครูสนทนากับนักเรียนว่า การโต้วาทีเป็นรูป
แบบการพูดอีกประเภทหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะในชีวิต
จริงของเรา เราต้องใช้ทักษะการพูดแสดงทรรศนะที่
ขัดแย้งกับบุคคลอื่นๆอยู่เสมอๆ
แต่การโต้วาทีเป็นการพูดแสดงทรรศนะขัดแย้งโดยมี
การใช้เหตุผลเป็นพื้นฐาน ซึ่งนักเรียนควรจะศึกษา
ไว้
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนศึกษาเรื่อง การพูดโต้วาที จาก
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๓๘ – ๔๐
๒) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ คน เพื่อ
โต้วาที และจับคู่กลุ่มเพื่อโต้วาที และให้
นักเรียน
ทั้งชั้นเรียนกำหนดญัตติการโต้วาทีให้เพียงพอกับ
คู่โต้วาที เช่น
เป็นดาราดีกว่าเป็นนักร้อง
อ่านหนังสือพิมพ์ดีกว่าดูข่าวโทรทัศน์
เล่นกีฬาดีกว่าเล่นดนตรี
เที่ยวป่าดีกว่าเที่ยวทะเล
อ่านหนังสือดีกว่าเล่นอินเทอร์เน็ต
๓) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มได้ญัตติที่จะใช้
โต้วาทีแล้ว ครูให้นักเรียนประชุมกลุ่มเพื่อ
กำหนดตำแหน่ง วางแผนการโต้วาที และเตรียมข้อมูล
การโต้วาที โดยใช้ใบงานที่ ๕.๑ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ บันทึกข้อมูล
๔) ครูคอยเป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำ
นักเรียนแต่ละกลุ่มเพิ่มเติม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องการโต้วาที
๒) ครูนัดหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดโต้วาที
ในคาบเรียน
ชั่วโมง
ที่ ๒ – ๓
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมการการพูดโต้วาที
๒. ขั้นสอน
๑) ครูกำหนดกรรมการการโต้วาทีแต่ละคู่ โดย
กำหนดกรรมการคู่ละ ๕ คน และเลือกนักเรียนให้หลาก
หลาย ผู้ที่เป็นกรรมการคู่หนึ่งคู่ใดแล้วจะไม่
เลือกซ้ำ
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มโต้วาที ตามลำดับ
๓) นักเรียนที่เป็นกรรมการให้คะแนนการ
โต้วาที ใช้ใบประเมินผลการโต้วาทีจากใบงานที่ ๕.๒
จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อสิ้นสุดการโต้วาทีแต่ละคู่ กรรมการ
รวบรวมคะแนน และตัดสินผลทันที
๕) ครูประเมินผล และติชมการโต้วาทีของนักเรียน
แต่ละคู่
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปผลการโต้วาทีของตน
และประเมินผลการพูดของตนเองว่ามี ข้อดี และสิ่ง
ที่ต้องปรับปรุงอย่างไรบ้าง
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูหรือฟังตัวอย่างการโฆษณา
จากสื่อโทรทัศน์หรือวิทยุ
๒) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้
รับทราบจากโฆษณาที่ได้ดูหรือได้ฟัง
๓) ครูถามว่านักเรียนสนใจสินค้าหรือบริการที่
โฆษณานำเสนอหรือไม่เพราะอะไร
๔) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนศึกษาเรื่อง การพูดโน้มน้าวใจ จาก
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๔๑ – ๔๓
๒) ครูซักถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ให้ความรู้เพิ่มเติม
๓) นักเรียนฝึกเขียนร่างการพูดโน้มน้าวใจ
เรื่อง ปลูกต้นไม้เพื่อละภาวะโลกร้อน โดยเขียนใน
ใบงานที่ ๕.๔ จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษา
ไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูสุ่มเรียกนักเรียน ๔ – ๕ คน ออกมาพูดโน้ม
น้าวใจให้เพื่อนๆฟัง ปลูกต้นไม้เพื่อลดภาวะโลก
ร้อน
๕) ครูให้นักเรียนที่เป็นผู้ฟัง ร่วมกันสรุป
ว่า ผู้พูดคนใดพูดโน้มน้าวใจได้ดีที่สุด
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องการพูดโน้มน้าวใจ และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโม
๑.งที่ ๕
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว
เมื่อคาบเรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การพูดอภิปราย
จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๔๐ และมารยาทในการพูด หน้า
๔๔
๒) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าทักษะการพูดอภิปราย
นั้นเป็นทักษะที่นักเรียนใช้อย่างสม่ำเสมออย่าง
แล้ว อย่างไรก็ดี นักเรียนควรเข้าใจหลักการพูด
อภิปรายเพื่อที่จะสามารถพูดได้อย่างถูกต้อง
๓) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน และให้
นักเรียนอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง “คุณและโทษของการ
โฆษณา”
๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานผล
การอภิปราย
๕) นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ ๕.๓ และ ๕.๕ ทำ
แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ ตอนที่ ๑ – ๔ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๖) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปมารยาทในการพูด
โดยใช้หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๔๓ ประกอบ
๒) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ บันทึกลงใน
สมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ตัวอย่างการโต้วาที (จากซีดีการศึกษา หรือจาก
อินเทอร์เน็ต)
๔. ตัวอย่างสื่อโฆษณาจากโทรทัศน์หรือวิทยุ
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อ
การเรียนการสอน เช่น ซีดีการศึกษา อินเทอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง
ประเภทของการเขียน เวลา ๕
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายหลักการเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิด
เห็น โต้แย้งในเรื่องต่างๆ และหลักการเขียน
วิเคราะห์ วิจารณ์ และสามารถเขียนอธิบาย ชี้แจง
แสดงความคิดเห็น โต้แย้งในเรื่องต่างๆ และเขียน
วิเคราะห์ วิจารณ์ได้
๒. สาระสำคัญ
การเขียนเป็นการสื่อสารอย่างมีศิลปะ เพราะการ
เขียนต้องประกอบด้วยเครื่องมือที่สำคัญ
คือ ภาษาที่งดงาม ประณีต สามารถสื่อความคิด อารมณ์
ของผู้เขียนที่ต้องการอธิบาย ชี้แจง โต้แย้ง หรือ
วิจารณ์เรื่องต่างๆ ได้ด้วย
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูป
แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการ
ศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้
แย้งอย่างมีเหตุผล
7. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ
คิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆ
๔. สาระการเรียนรู้
1. การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้
แย้งในเรื่องต่างๆ
2. การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบายหลัก ๑. เขียน ๑.รักชาติ
การเขียน อธิบาย ชี้แจง ศาสน์
อธิบาย แสดง ความคิด กษัตริย์
ชี้แจง แสดง เห็น โต้แย้ง ๒.ซื่อสัตย์
ความ คิดเห็น ใน เรื่อง ๓.มีวินัย
โต้แย้งใน ต่างๆ และ ๔.ใฝ่เรียนรู้
เรื่อง ต่างๆ เขียน ๕.อยู่อย่างพอ
และหลักการ วิเคราะห์ เพียง
เขียน วิจารณ์ได้ ๖.มุ่งมั่นใน
วิเคราะห์ การทำงาน
วิจารณ์ ๗.รักความเป็น
๒. เห็น ไทย
ประโยชน์ของ ๘.มีจิต
การเขียน สาธารณะ
อธิบาย ชี้แจง
แสดงความคิด
เห็น โต้แย้ง
ในเรื่อง
ต่างๆ และ
การเขียน
วิเคราะห์
วิจารณ์
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. ผลการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนรู้จักงาน
เขียนประเภทใดบ้าง และการเขียนงานประเภทต่างๆผู้
เขียนมีเจตนาในการเขียนอย่างไรบ้าง
๒) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ คน ศึกษาเรื่อง
การเขียนอธิบาย การเขียนชี้แจง การเขียน
แสดงความคิดเห็น และการเขียนโต้แย้งในเรื่องต่างๆ
จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๔๗ – ๕๙ โดยแบ่งหัวข้อ
ศึกษาคนละ ๑ หัวข้อ ดังนี้
การเขียนอธิบาย
การเขียนชี้แจง
การเขียนแสดงความคิดเห็น
การเขียนโต้แย้ง
๒) ครูซักถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๖.๓ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดจากใบ
งาน
๕) นักเรียนทำใบงานที่ ๖.๔ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งมีกิจกรรมส่งเสริม
การฝึกเขียนอธิบาย ดังนี้
จงเลือกเขียนแสดงความคิดเห็นจากหัวข้อที่
กำหนดให้
เมาไม่ขับ ชีวิตไม่ดับสูญ
ดื่มน้ำผลไม้ สดใสเปล่งปลั่ง เพิ่มพลัง
แข็งแรง
การไม่เกี่ยวข้องกับสุราและยาเสพติดทุก
ประเภท
๖) เมื่อนักเรียนฝึกเขียนอธิบายตามกิจกรรมใน
ใบงานเรียบร้อยแล้ว ครูสุ่มเลือกนักเรียน
๕ - ๖ คน ออกมารายงานการเขียนอธิบายของตน
๗) ครูให้คำติชมการเขียนและการรายงานของ
นักเรียนแต่ละคน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง การเขียนอธิบาย การเขียนชี้แจง การเขียน
แสดงความคิดเห็น และการเขียนโต้แย้งในเรื่องต่างๆ
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง การเขียนอธิบาย การเขียนชี้แจง การเขียน
แสดงความคิดเห็น และการเขียนโต้แย้งในเรื่องต่างๆ
ที่ได้เรียนไปเมื่อคาบเรียนที่แล้ว
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๖.๑ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งมีสถานการณ์ส่งเสริม
การฝึกเขียนอธิบาย ดังนี้
“นักเรียนเป็นคณะกรรมการชมรมรักษ์วรรณคดีไทย
ทางชมรมต้องการจัดกิจกรรม
ทัศนศึกษา แต่ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า จะไป
ทัศนศึกษา ณ ที่ใดในฐานะกรรมการ นักเรียนต้องการ
เสนอความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมดังกล่าว ให้
นักเรียนเลือกสถานที่ที่เหมาะสมกับในการจัด
กิจกรรมแล้วเขียนอธิบาย ชี้แจงเหตุผลในการเลือก
สถานที่นั้นๆ และเขียนอธิบาย ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
สถานที่นั้นๆ พอสังเขป”
๒) ครูให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลสถานที่จากห้อง
สมุด หรืออินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นข้อมูล ในการ
เขียนอธิบาย
๓) นักเรียนเรียบเรียงข้อมูลที่ค้นคว้า และฝึก
เขียนอธิบายในใบงานที่ ๖.๑
๔) เมื่อนักเรียนฝึกเขียนอธิบายตามกิจกรรมใน
ใบงานเรียบร้อยแล้ว ครูสุ่มเลือกนักเรียน ๕-๖
คน ออกมารายงานงานเขียนอธิบายของตน
๕) ครูให้คำติชมการเขียนและการรายงานของ
นักเรียนแต่ละคน
๖) นักเรียนเลือกผลงานเขียนอธิบายของเพื่อน
ที่เขียนได้ดีที่สุด และร่วมกันสรุปว่า ผลงาน
นั้นๆ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร และนักเรียนจะนำ
ข้อดี และข้อเสียนั้นไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไรบ้าง
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันระดมความคิดว่า
นักเรียนสามารถพบเห็นงานเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง
ความคิดเห็น และการเขียนโต้แย้งในเรื่องต่างๆ ได้
จากสื่อใดบ้าง
๒) นักเรียนสรุปผลการระดมความคิด และบันทึกลง
สมุดภาษาไทย
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูรูปภาพแฟชั่นการแต่งกาย
พฤติกรรมในด้านที่ไม่ค่อยเหมาะสมของวัยรุ่น แล้ว
ให้นักเรียนพูดวิพากษ์วิจารณ์
๒) ครูสนทนากับนักเรียนว่า การวิพากษ์วิจารณ์
นั้น นอกจากจะทำได้ด้วยการพูดแล้ว
การเขียนก็เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่นักเรียนสามารถ
ทำได้
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การเขียน
วิเคราะห์วิจารณ์ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๖๐ - ๖๑
๒) ครูซักถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๖.๒ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งให้นักเรียนฝึกเขียน
วิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น จากข่าว เรื่อง
เอกฉันท์ ห้ามรับทุนน้ำเมาจัดกีฬามหาวิทยาลัย
๔) เมื่อนักเรียนฝึกเขียนอธิบายตามกิจกรรมใน
ใบงานเรียบร้อยแล้ว ครูสุ่มเลือกนักเรียน ๕ คน
ออกมารายงานงานเขียนอธิบายของตน
๕) ครูให้คำติชมการเขียนและการรายงานของ
นักเรียนแต่ละคน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปหลักการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโม
๑.งที่ ๔
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ – ๔ คน แล้วร่วม
กันเลือกหัวข้อเพื่อฝึกเขียนวิเคราะห์วิจารณ์โดย
อิสระ เช่น
แฟชั่นวัยรุ่น
เกมคอมพิวเตอร์
การ์ตูนญี่ปุ่น
ค่านิยมของคนสมัยใหม่
การฟังเพลงของวัยรุ่น
๒) เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนวิเคราะห์
วิจารณ์เรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ส่งตัวแทนออกมารายงานการเขียนของกลุ่มที่หน้าชั้น
เรียน
๓) ครูให้คำติชมการเขียนและการรายงานของ
นักเรียนแต่ละคน
๔) นักเรียนเลือกผลงานเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
ที่เขียนได้ดีที่สุด และร่วมกันสรุปว่า ผลงาน
นั้นๆ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร และนักเรียนจะนำ
ข้อดี และข้อเสียนั้นไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไรบ้าง
๕) นักเรียนทำใบงานที่ ๖.๕ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันระดมความคิดว่า
นักเรียนสามารถพบเห็นงานเขียนประเภทวิเคราะห์
วิจารณ์ได้จากสื่อใดบ้าง
๒) นักเรียนสรุปผลการระดมความคิด และบันทึกลง
สมุดภาษาไทย
ชั่วโม
๑.งที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๕
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว
เมื่อคาบเรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ – ๖ คน แล้วให้
นักเรียนอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง การพูด และการ
เขียนอะไรสำคัญกว่ากัน
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปราย และนำ
เสนอหน้าชั้นเรียน
๓) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการอภิปราย และ
บันทึกลงสมุดภาษาไทย
๔) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๖ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๕) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเรื่อง จะ
นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไรและ
มารยาทในการเขียนที่นักเรียนควรระมัดระวัง
๒) นักเรียนสรุปผลการระดมความคิด และบันทึกลง
ในสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้าข้อมูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่องการเขียน
รายงานและการกรอกแบบสมัครงาน เวลา ๕
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายวิธีการเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การ
เขียนรายงานโครงงาน และหลักการกรอกแบบสมัครงาน
สามารถเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน
โครงงาน และกรอกแบบสมัครงาน
ได้ถูกต้องตามวิธีการ และมีมารยาทในการเขียน
๒. สาระสำคัญ
การเขียนเป็นทักษะหนึ่งในการนำเสนอความรู้
ความคิดที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าหรือ
การทำโครงงาน เพื่อให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์ทาง
วิชาการ ส่วนการเขียนจดหมายสมัครงานนั้นจำเป็น
ต้องแสดงตัวตนให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ต่อการเข้า
ทำงาน นักเรียนจึงควรฝึกฝนทักษะ
การเขียนทั้งสามประเภทนี้ เพื่อให้เป็นผู้ส่งสาร
ที่มีประสิทธิภาพ
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูป
แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการ
ศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๘. กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความ
รู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงาน
๙. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน
๑๐. มารยาทในการเขียน
๔. สาระการเรียนรู้
1. การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
2. การเขียนรายงานโครงงาน
3. การกรอกแบบสมัครงาน
4. มารยาทในการเขียน
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบายวิธี ๑. เขียน ๑.รักชาติ
การเขียน รายงานจากการ ศาสน์
รายงาน จากการ ศึกษา ค้นคว้า กษัตริย์
ศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน ๒.ซื่อสัตย์
การเขียน โครงงาน และ ๓.มีวินัย
รายงานโครงงาน กรอกแบบ สมัคร ๔.ใฝ่เรียนรู้
และหลักการก งาน ๕.อยู่อย่างพอ
รอกแบบ สมัคร ๒. มีมารยาทใน เพียง
งาน การเขียน ๖.มุ่งมั่นใน
๒. เห็นคุณค่า การทำงาน
และประโยชน์ ๗.รักความเป็น
ของการเขียน ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. รายงานโครงงาน
๔. โปสเตอร์แสดงสิ่งที่ควรทำ และไม่ควรทำในการ
เขียน (Do and don’t)
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับประสบการณ์ใน
การทำรายงาน นักเรียนเคยทำรายงานเรื่องอะไรบ้าง
และนักเรียนมีกระบวนการในการทำงานอย่างไร ให้
นักเรียนร่วมกันเล่าประสบการณ์
๒) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การเขียนรายงาน
จากการศึกษาค้นคว้า โดยศึกษาจากหนังสือเรียนวิชา
ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๖๕ -
๖๗
๒) ครูให้นักเรียนพิจารณาจากประสบการณ์การทำ
รายงานของนักเรียน กับเนื้อหาวิธีการเขียนรายงาน
ที่ได้ศึกษาไปนั้นมีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
๓) ครูให้นักเรียนจับคู่ ๒ คน แล้วร่วมกันทำ
ใบงานที่ ๗.๑ จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษา
ไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งในใบงานฝึก
ให้นักเรียนวางแผนการทำรายงาน
๔) ครูสุ่มเรียกนักเรียน ๕ – ๖ คู่ มานำเสนอการ
วางแผนการทำรายงานจากการศึกษาค้นคว้าของตนที่
หน้าชั้นเรียน
๕) ครูติชมการวางแผนงาน และการรายงานของ
นักเรียนแต่ละคู่
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องการทำรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ชั่วโมง
ที่ ๒ – ๓
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปเมื่อคาบ
เรียนที่ผ่านมา
๒) ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างรายงานโครงงาน
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การเขียนรายงาน
โครงงาน โดยศึกษาจากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๖๘ - ๘๔
๒) ครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่า ระหว่าง
รายงาน และโครงงาน มีความเหมือน และความแตกต่างกัน
อย่างไร
๓) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน เพื่อฝึกทำ
โครงงานตามกิจกรรมที่กำหนดในใบงานที่ ๗.๒ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งกำหนดให้นักเรียนเลือกทำ
โครงงาน ๑ โครงงาน โดยให้โครงงานนั้นๆ มีสาระ
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังนี้
วรรณคดี วรรณกรรม
การใช้ภาษา
ประเพณีวัฒนธรรมไทย
๔) ครูให้นักเรียนประชุมกลุ่มเพื่อระดมความ
คิดร่วมกัน
๕) นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งการ
เรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
๖) นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานการวางแผนการทำ
โครงงานที่หน้าชั้นเรียน โดยมีครูคอยเป็น ที่
ปรึกษาให้คำแนะนำการดำเนินงาน
๗) นักเรียนลงมือทำโครงงาน และศึกษาค้นคว้าจน
ได้ผลการศึกษาค้นคว้าที่ชัดเจน
๙) นักเรียนนำเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน
๑๐) ครูติชม ให้คำแนะนำการทำโครงงานของ
นักเรียนแต่ละกลุ่ม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ และประโยชน์ที่ได้รับ
จากการทำโครงงาน
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างแบบฟอร์มการสมัคร
งาน และสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยมี
ประสบการณ์ในการกรอกแบบฟอร์มต่างๆ หรือใบสมัครงาน
หรือไม่ อย่างไร
๒) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การกรอกแบบสมัคร
งาน โดยศึกษาจากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๘๕ - ๘๘
๒) ครูซักกถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ให้ความรู้เพิ่มเติม
๓) ครูให้นักเรียนตั้งใจทำใบงานที่ ๗.๓ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งให้นักเรียนฝึกกรอกแบบ
สมัครงาน
๔) ครูให้นักเรียนศึกษาใบงานที่ ๗.๕ และให้
นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติตามที่กำหนด
โดยให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม ๗ คน กำหนดให้นักเรียน ๒
คนเป็นผู้รับสมัครงาน และอีก ๕ คนเป็นผู้สมัครงาน
และใช้ใบงานที่ ๗.๓ ประกอบกิจกรรม และให้นักเรียน
ฝึกซักถามสัมภาษณ์จริง
เมื่อสัมภาษณ์ครบแล้ว ให้ผู้รับสมัครงานเลือกผู้
ที่กรอกแบบสมัครงาน และให้สัมภาษณ์ได้ดีที่สุด
กลุ่มละไม่เกิน ๒ คน พร้อมอธิบายเหตุผลที่เลือก
บุคคลนั้นๆ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง การกรอกแบบสมัครงาน
ชั่วโม
๑.งที่ ๕
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
คาบเรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนทบทวน มารยาทในการเขียน ซึ่ง
นักเรียนเคยร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้ ใน
หน่วยการเรียนที่ผ่านมาแล้ว
๒) ครูให้นักเรียนร่วมกันทำโปสเตอร์แนะนำ
สิ่งที่ควรทำ และไม่ควรทำในการเขียน (Do and
don’t) และนำไปติดแสดงที่ป้ายนิเทศ
๓) นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ ๗.๔ และทำแบบ
ทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๗
ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย
๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนแต่ละคนสรุปตามความคิดของตนเองว่า
จะนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
๒) ครูสุ่มเลือกนักเรียน ๒ – ๓ คน รายงานผลการ
สรุปแนวคิดที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
๓) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปอีกครั้ง
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ตัวอย่างรายงานโครงงาน
๔. ตัวอย่างแบบฟอร์มการสมัครงาน
๕. ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต
๖. กระดาษโปสเตอร์
๗. สีเมจิก / สีไม้
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้าข้อมูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง การ
อ่านบทร้อยกรอง เวลา ๕
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายความหมายของบทร้อยกรอง แนวทางการพิจารณา
บทร้อยกรอง และสามารถพิจารณาบทร้อยกรองได้อย่างมี
หลักการ
๒. สาระสำคัญ
บทร้อยกรอง เป็นวรรณกรรมประเภทหนึ่งที่มีลักษณะ
บังคับในการแต่ง การอ่านและพิจารณา
บทร้อยกรองจะต้องวิเคราะห์เนื้อหา รูปแบบ การใช้
ภาษา และข้อคิดที่ได้จากบทร้อยกรองนั้น
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการสร้างความรู้และความ
คิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๓. ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
๙. ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงาน
เขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
๔. สาระการเรียนรู้
1. ใจความสำคัญและรายละเอียดของบทร้อยกรอง
เรื่อง “เด็กน้อยในเมืองใหญ่”
2. การอ่านและพิจารณาบทร้อยกรองเรื่อง “เด็กน้อย
ในเมืองใหญ่”
3. การตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดของบทร้อย
กรองเรื่อง “เด็กน้อยในเมืองใหญ่”
เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบายความ ๑. พิจารณาบท ๑.รักชาติ
หมายของ บทร้อย ร้อยกรองได้ ศาสน์
กรอง ตามแนวทาง กษัตริย์
๒. อธิบาย การพิจารณา บท ๒.ซื่อสัตย์
แนวทางการ ร้อยกรอง ๓.มีวินัย
พิจารณาบท ๔.ใฝ่เรียนรู้
ร้อยกรอง ๕.อยู่อย่างพอ
๓. เห็นคุณค่า เพียง
ของการศึกษา บท ๖.มุ่งมั่นใน
ร้อยกรอง การทำงาน
๗.รักความเป็น
ไทย
๘.มีจิต
สาธารณะ
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. รายงานการพิจารณาบทร้อยกรอง
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทร้อยกรองที่
นักเรียนประทับใจ หากนักเรียนสามารถท่องจำได้ให้
นักเรียนท่องให้เพื่อนๆฟัง และให้นักเรียนอธิบาย
ว่าเหตุใดนักเรียนจึงชอบบทร้อยกรองนั้นๆ
๒) ครูให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดว่า บท
ร้อยกรองให้คุณค่า หรือประโยชน์อะไรแก่นักเรียน
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาความหมายของบทร้อยกรอง
และแนวทางการพิจารณาบทร้อยกรองจากหนังสือเรียน
วิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า
๙๒ - ๙๓
๒) ครูซักถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียน
๓) ครูให้นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เรื่อง “เด็กน้อยในเมืองใหญ่” จากหนังสือเรียนวิชา
ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๙๔
๔) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน และช่วยกัน
ถอดคำประพันธ์บทร้อยกรองดังกล่าว
๕) ครูสุ่มเลือกนักเรียน ๓ – ๔ กลุ่ม ให้รายงาน
การถอดคำประพันธ์
๖) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการถอดคำ
ประพันธ์
๗) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเข้าใจ
เรื่องราวที่ปรากฏในคำประพันธ์เป็นพื้นฐานที่
สำคัญในการพิจารณาบทร้อยกรอง
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องนวทางการพิจารณาบทร้อยกรอง
๒) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๘.๑ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และใบงานที่ ๘.๕ ให้นักเรียนอ่าน
บทร้อยกรอง และฝึกถอดคำประพันธ์
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้จากการศึกษาเรื่อง
แนวทางการพิจารณาบทร้อยกรอง
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การอ่านและ
พิจารณาบทร้อยกรองเรื่องเด็กน้อยในเมืองใหญ่ จาก
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ หน้า ๙๔ - ๙๗
๒) ครูอธิบายเพิ่มเติมให้ความรู้แก่นักเรียน
๓) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๘.๒ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน แล้วศึกษาบท
ร้อยกรองเรื่อง ข้าวเกรียบ จากใบงานที่ ๘.๔จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และให้นักเรียนร่วมกันพิจารณา
บทร้อยกรองตามแนวทางที่ได้ศึกษามา และเขียนบทความ
ขนาดสั้น (ความยาว ๑ – ๒ หน้า กระดาษเอ ๔) เพื่อ
รายงานการพิจารณาบทร้อยกรองดังกล่าว
๕) ครูเลือกนักเรียน ๓ – ๔ กลุ่มรายงายการ
พิจารณาบทร้อยกรองของตนที่หน้าชั้นเรียน
๖) ครูติชม และให้คำแนะนำการทำงานของ
นักเรียนตามเห็นสมควร
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ
๒) ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๘.๓ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป็นการบ้าน
ชั่วโมง
๑.ที่ ๓–๔
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนทบทวนแนวทางการพิจารณาบทร้อย
กรอง
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนหาบทร้อยกรองที่น่าสนใจคนละ
๑ เรื่อง จากห้องสมุด หรืออินเทอร์เน็ต
๒) นักเรียนพิจารณาบทร้อยกรองตามหลักการ และ
เขียนบทความขนาดสั้น (ความยาว
๑ – ๒ หน้า กระดาษ เอ ๔) เพื่อรายงานการพิจารณาบท
ร้อยกรองดังกล่าว
๓) ครูคอยเป็นที่ปรึกษาในการทำงานแก่
นักเรียน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูแนะนำการพิจารณาบทร้อยกรองให้นักเรียน
และให้นักเรียนทำเป็นการบ้านให้แล้วเสร็จ และให้
นักเรียนนำเสนอบทร้อยกรองและการพิจารณาบทร้อย
กรองที่ตนสนใจในคาบเรียนต่อไป
ชั่วโม
๑.งที่ ๕
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนแต่ละคนเตรียมบทร้อยกรองและ
การพิจารณาบทร้อยกรองที่จะนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนรายงานบทร้อยกรอง และการพิจารณาบท
ร้อยกรองที่หน้าชั้นเรียน
๒) ครูติชมและให้คำแนะนำนักเรียนแต่ละคน
๓) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๘ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเรื่อง บท
ร้อยกรองมีคุณค่าแก่ชีวิตของเราอย่างไร
๒) นักเรียนสรุปผลการระดมความคิด และบันทึกลง
ในสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้าข้อมูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การศึกษา
วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น เวลา ๔
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
อธิบายความหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น ประเภทของ
วรรณกรรมท้องถิ่น และลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น
สามารถวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น และอธิบาย
ประโยชน์ในการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นได้
๒. สาระสำคัญ
การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นในรูปแบบของตำนาน
ทำให้เข้าใจประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ
มากขึ้น วรรณกรรมตำนานเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึง
ความคิด ความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถิ่นนั้น
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการสร้างความรู้และความ
คิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๓. ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น
วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรม ท้อง
ถิ่น ในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่า จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อ่าน
๔. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น
2. ประเภทของวรรณกรรมท้องถิ่น
3. ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น
4. ประโยชน์ในการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่น
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. อธิบายความ ๑. วิเคราะห์ ๑.รักชาติ
หมายของ วรรณกรรม ท้อง ศาสน์
วรรณกรรม ถิ่น กษัตริย์
ท้องถิ่น ๒. นำความรู้ ๒.ซื่อสัตย์
ประเภทของ และข้อคิดไป ๓.มีวินัย
วรรณกรรม ท้อง ประยุกต์ ๔.ใฝ่เรียนรู้
ถิ่น และ ใช้ได้ ๕.อยู่อย่างพอ
ลักษณะของ เพียง
วรรณกรรม ๖.มุ่งมั่นใน
ท้องถิ่น การทำงาน
๒. อธิบาย ๗.รักความเป็น
ประโยชน์ใน ไทย
การศึกษา ๘.มีจิต
วรรณกรรม ท้อง สาธารณะ
ถิ่น
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. บทความการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นที่สนใจ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูอ่านข้อความต่อไปนี้ให้นักเรียนฟังทีละ
ข้อความ แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบว่าเป็น
วรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องอะไร
ชายคนหนึ่งมีฝีมือในการปราบจระเข้ เขาได้
ปราบจระเข้ที่ชื่อว่า ชาลวัลย์ จนมีชื่อเสียง
ไปจนทั่วเมืองพิจิตร
(ไกรทอง)
พระราชธิดาเจ้าเมืองขอม อยากได้กระรอก
เผือกน่ารักตัวหนึ่งมาเลี้ยง เมื่อจับเป็น
ไม่ได้ก็ให้นายพรานจับตายเสีย โดยมิได้รู้
ว่า กระรอกนั้น คือท้าวพังคี โอรสของพญานาค
เจ้าเมืองบาดาล
(ผาแดง นางไอ่)
๒) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนศึกษาเรื่อง ความหมายของวรรณกรรม
ท้องถิ่น ประเภทของวรณณกรรมท้องถิ่น และลักษณะของ
วรรณกรรมท้องถิ่น จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๐๑ - ๑๐๒
๒) ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมให้แก่นักเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๙.๒ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) นักเรียนอ่านเรื่อง พระยากงส์ พระยาพาน จาก
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๐๓ - ๑๐๖
๕) นักเรียนจับคู่ ๒ คน ตั้งคำถามเกี่ยวกับ
เรื่อง พระยากงส์ พระยาพาน คู่ละ ๖ คำถาม
๖) นักเรียนนำคำถามที่สร้างขึ้นไปผลัด
เปลี่ยนถาม – ตอบ กับเพื่อนๆคู่อื่นๆ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่อง ความหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น ประเภทของ
วรรณกรรมท้องถิ่น และลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น
ชั่วโ
มงที่
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนเรื่องพระยากงส์ พระยาพาน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนทำใบงานเกี่ยวกับวัน
สงกรานต์ จากใบงานที่ ๙.๓ – ๙.๕ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๒) ครูให้นักเรียนอ่านเรื่อง เล่าขานตำนาน
บั้งไฟพญานาค ในใบงานที่ ๙.๑ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๙.๑
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน หากเป็น
คำถามที่ไม่มีคำตอบที่ชัดเจน ครูให้นักเรียน
ร่วมกันคิด ร่วมกันอภิปราย
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
เรื่องตำนานวันสงกรานต์ และเล่าขานตำนานบั้งไฟ
พญานาค
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันระดมความคิดว่า หาก
นักเรียนต้องศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมพื้นบ้าน
นักเรียนต้องศึกษาเรื่องใดบ้าง
๒) ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุป สิ่งที่ต้อง
ศึกษาในวรรณกรรมท้องถิ่น เช่น
ประเภทของวรรณกรรม
คุณค่าทางสังคม (สะท้อนความเชื่อ แนวคิด
อย่างไร)
ประโยชน์และข้อคิดที่ได้รับ
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน แล้วค้นหา
วรรณกรรมท้องถิ่นที่น่าสนใจในภูมิภาคของตน หรือ
ภูมิภาคใดก็ได้ จากแหล่งการเรียนรู้ของชุมชน
อินเทอร์เน็ต หรือห้องสมุด
๒) นักเรียนศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น
เรื่องนั้นๆ และเขียนเป็นบทความขนาดสั้นเพื่อแสดง
การคิดวิเคราะห์ของนักเรียน
๓) ครูเป็นที่ปรึกษาในการทำงานให้แก่
นักเรียนแต่ละกลุ่ม
๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานการศึกษาและการ
คิดวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นของกลุ่มตนที่หน้า
ชั้นเรียน
๕) ครูติชม และให้คำแนะนำการทำงานของ
นักเรียนแต่ละกลุ่ม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา
วรรณกรมท้องถิ่น ทั้งจากที่ตนเองศึกษา และจาก
เพื่อนนักเรียนกลุ่มอื่นๆ และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโม
๑.งที่ ๔
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้รับจากการ
ศึกษาที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง
ประโยชน์จากการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่น โดยใช้
หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ หน้า ๑๐๓
๒) นักเรียนร่วมกันสรุป และบันทึกลงสมุดภาษา
ไทย
๓) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๙ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเรื่อง
เราจะร่วมกันอนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น
ได้อย่างไร
๒) นักเรียนสรุปผลการระดมความคิด และบันทึกลง
ในสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. แหล่งการเรียนรู้ชุมชน
๔. ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาใน
การศึกษาวัฒนธรรมของชุมชน และสาระการเรียรรู้การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้า
ข้อมูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง บท
ละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เวลา ๗
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา ลักษณะคำประพันธ์
และวิเคราะห์วิจารณ์บทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ลูก
ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น และสามารถนำความรู้
และข้อคิดที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. สาระสำคัญ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นบทละครพูดขนาดสั้นที่แสดงถึงความรักอันยิ่ง
ใหญ่ของบุพการีที่มีต่อบุตร อันเป็นคุณธรรมสำคัญ
ที่เป็นสากลซึ่งเป็นสิ่งที่มีอยู่ในมนุษย์
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น
วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้อง
ถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อ่าน
๓. สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๔. สาระการเรียนรู้
1. สรุปเนื้อหาบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
2. วิเคราะห์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
3. อธิบายคุณค่าของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
4. ประยุกต์ความรู้และข้อคิดจากเรื่องมาใช้ใน
ชีวิต
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. มีความรู้ ๑. สามารถ ๑.รักชาติ
ความเข้าใจ สรุปเนื้อหา ศาสน์
เนื้อความ จากบท กษัตริย์
ของบทละครพูด ละครพูด ๒.ซื่อสัตย์
เรื่องเห็น เรื่อง เห็น ๓.มีวินัย
แก่ลูก แก่ลูก ๔.ใฝ่เรียนรู้
๒. เห็นคุณค่า ๒. สามารถ ๕.อยู่อย่างพอ
ของบทละครพูด วิเคราะห์ เพียง
เรื่อง เห็น วิจารณ์ ๖.มุ่งมั่นใน
แก่ลูก เรื่องที่ การทำงาน
๓. มีความรู้ ได้ศึกษา ๗.รักความเป็น
ในการ ๓. สามารถนำ ไทย
วิเคราะห์ ความรู้และ ๘.มีจิต
วิจารณ์และ ข้อคิดที่ สาธารณะ
ประเมินค่า ได้ไปประยุกต์
วรรณกรรมตาม ใช้
หลักการ ในชีวิต
วิจารณ์ ประจำวัน
เบื้องต้น
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๔. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๖. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๕. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๖. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. บทละครตอนต่อ บทละครพูดเห็นแก่ลูก
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนตัวอย่างการแสดงละครเวที
(เลือกเองหรือตอนที่เป็นละครพูด)
๒) ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับ
ประสบการณ์การดูละครต่างๆ
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนศึกษาความรู้ทั่วไป และลักษณะคำ
ประพันธ์ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๑๑ - ๑๑๓
๒) ครูอธิให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๐.๒ และ ๑๐.๔ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ
ชั่วโมง
ที่ ๒ – ๓
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาบทละครพูดเรื่อง เห็น
แก่ลูก จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๑๔ - ๑๒๖
๒) ครูให้นักเรียนอ่านออกเสียงบทละครให้สมจริง
โดยเลือกนักเรียนเป็นตัวละคร ๓ ตัว ได้แก่ พระยา
ภักดี นายล้ำ และ อ้ายคำ
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๐.๑ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาบท
ละครพูดเรื่อง เห็นแก่ลูก
๒) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๐.๕ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป็นการบ้าน
ชั่วโมง
๑. ที่ ๔–
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนทบทวนเนื้อหาบทละคร เห็นแก่
ลูก
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนสังเกตวิธีการการเขียนบทละคร
ซึ่งจะใช้บทสนทนาป็นหลัก
๒) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ – ๔ คน แล้วให้
นักเรียนเขียนบทละคร เรื่องเห็นแก่ลูก ต่อจากตอน
ที่จบลงไปแล้วตามเนื้อเรื่อง โดยให้นักเรียนเขียน
ตอนต่อตามจินตนาการแต่ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาเดิม
ที่มีอยู่ ความยาวประมาณ ๓ หน้า กระดาษ เอ ๔ และต้อง
มีบทพูดตัวละครตรงตามจำนวนสมาชิกในกลุ่ม เช่น
ถ้ามีสมาชิก ๓ คน ต้องมีตัวละคร ๓ ตัว เพื่อสมาชิก
ในกลุ่มจะได้ร่วมแสดงร่วมกันครบทุกคน
๓) เมื่อนักเรียนเขียนบทละครเรียบร้อยแล้ว
ให้นักเรียนเขียน หรือพิมพ์ส่งครูให้เรียบร้อย
๔) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงละครตอน
ต่อตามบทละครที่ได้สร้างขึ้น
๕) ครูติชม และแนะนำการทำงานแก่นักเรียน
แต่ละกลุ่ม
๖) นักเรียนร่วมกันสรุปว่า ละครตอนต่อ เรื่อง
เห็นแก่ลูก ของกลุ่มใดสนุกสนาน น่าสนใจ และแสดงได้
ดีที่สุด
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดง
ละคร และการทำงานกลุ่มร่วมกัน รวมทั้งอุปสรรค
ปัญหาที่พบ และแนวทางการแก้ไข
ชั่วโม
๑.งที่ ๖
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนวิเคราะห์วิจารณ์ว่า บทละคร
ตอนต่อ ที่นักเรียนแต่งขึ้น มีคุณค่าต่อผู้ชม
อย่างไรบ้าง
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ คน เพื่ออภิปราย
กลุ่มย่อย วิเคราะห์คุณค่าของบทละครพูด เรื่อง
เห็นแก่ลูก โดยใช้หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม
๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๒๗ – ๑๓๒ ประกอบการ
อภิปราย
๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปราย และ
รายงานที่หน้าชั้นเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๐.๓ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ และบันทึกลงสมุดภาษา
ไทย
ชั่วโม
๑.งที่ ๗
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า นักเรียน
ชอบตัวละครใด จากเรื่องเห็นแก่ลูก
มากที่สุด เพราะเหตุใด
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายตัวละครจากบท
ละครพูด เรื่องเห็นแก่ลูก ได้แก่ พระยาภักดี นาย
ล้ำ แม่ลออ และอ้ายคำ
๒) นักเรียนร่วมกันสรุปผลการอภิปราย
๓) นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๑๐ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือเสริมฝึก
ประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) เมื่อนักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนแต่ละคนคิดวิเคราะห์ว่านักเรียนจะ
นำความรู้และข้อคิดที่ได้รับจากบทละครพูด เรื่อง
เห็นแก่ลูก ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
อย่างไร และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ซีดีตัวอย่างการแสดงละครเวที / ละครพูด
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์พิมพ์ข้อมูล(บท
ละคร) และสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องการแสดงละคร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ เรื่อง
บทพากย์เอราวัณ เวลา ๕ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา ลักษณะคำประพันธ์
และวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์
บทพากย์เอราวัณ ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น เห็น
คุณค่าของวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์ บทพากย์
เอราวัณ และสามารถนำความรู้และข้อคิดที่ได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. สาระสำคัญ
บทพากย์เอราวัณ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาท
สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เนื้อเรื่องเริ่มตั้งแต่อินทรชิตแปลงเป็น
พระอินทร์เพื่อลวงทัพพระลักษมณ์ จนกระทั่งอินทร
ชิตแผลงศรพรหมาสตร์สังหารพระลักษมณ์ บทพากย์นี้มี
ความดีเด่นด้านวรรณศิลป์ในการพรรณนา
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้อง
ถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่า จากวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อ่าน
๓. สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๔. ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด และ
บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้
อ้างอิง
๔. สาระการเรียนรู้
1. สรุปเนื้อหาบทพากย์เอราวัณ
2. วิเคราะห์บทพากย์เอราวัณ
3. อธิบายคุณค่าของบทพากย์เอราวัณ
4. ประยุกต์ความรู้และข้อคิดจากเรื่องมาใช้ใน
ชีวิต
5. บทอาขยานจากเรื่อง
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. มีความรู้ ๑. สามารถสรุป ๑.รักชาติ
ความเข้าใจ เนื้อหาจาก ศาสน์
เนื้อความ บทพากย์ กษัตริย์
ของบทพากย์ เอราวัณ ๒.ซื่อสัตย์
เอราวัณ ๒. สามารถ ๓.มีวินัย
๒. เห็นคุณค่า วิเคราะห์ ๔.ใฝ่เรียนรู้
ของบทพากย์ วิจารณ์ ๕.อยู่อย่างพอ
เอราวัณ เรื่องที่ เพียง
๓. มีความรู้ ได้ศึกษา ๖.มุ่งมั่นใน
ในการ ๓. สามารถนำ การทำงาน
วิเคราะห์ ความรู้และ ๗.รักความเป็น
วิจารณ์และ ข้อคิดที่ ไทย
ประเมินค่า ได้ไปประยุกต์ ๘.มีจิต
วรรณกรรมตาม ใช้ สาธารณะ
หลักการ ในชีวิต
วิจารณ์ ประจำวัน
เบื้องต้น
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินการท่องจำบทอาขยาน
๔. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๕. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. สังเกตการท่องจำบทอาขยาน
๔. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๕. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลการท่องจำบทอาขยาน ต้องผ่าน
เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๗. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. ผลงานการถอดคำประพันธ์บทพากย์เอราวัณ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ทาง
วรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์
๒) ครูให้นักเรียนดูรูปช้างเอราวัณ และอธิบาย
ถึงความสำคัญของช้างเอราวัณ
๓) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียน
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาประวัติผู้แต่ง ลักษณะ
คำประพันธ์ และเนื้อหาโดยภาพรวมของ
บทพากย์เอราวัณ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม
๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๓๖ - ๑๔๑
๒) ครูซักถามเพื่อทดสอบความเข้าใจ และอธิบาย
ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๑.๒ และ๑๑.๕ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓
เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ และบันทึกลง
ในสมุดภาษาไทย
ชั่วโมง
ที่ ๒ – ๓
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปแล้ว
๒) ครูให้นักเรียนดูซีดีการแสดงโขน เรื่อง
รามเกียรติ์
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง บทพากย์เอราวัณ
จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๔๒ - ๑๔๗
๒) นักเรียนศึกษาคำศัพท์ และสำนวนที่ปรากฏใน
เรื่อง
๓) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ – ๔ คน แล้วช่วย
กันถอดคำประพันธ์บทพากย์เอราวัณ
แล้วเขียน หรือพิมพ์ส่งครูผู้สอนให้เรียบร้อย
๔) นักเรียนรายงานการถอดคำประพันธ์ของกลุ่ม
ที่หน้าชั้นเรียน
๕) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๑.๓ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ และบันทึกลง
สมุดภาษาไทย
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูสนทนากับนักเรียนว่า จากการศึกษาบทพากย์
เอราวัณ นักเรียนได้ข้อคิดจากเรื่องอย่างไร
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนศึกษา วิเคราะห์บทพากย์
เอราวัณ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๔๘ - ๑๕๑
๒) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับ
๓) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๑.๑ และ ๑๑.๔ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๔) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ และบันทึกลง
สมุดภาษาไทย
๒) ครูให้นักเรียนฝึกซ้อมท่องบทอาขยาน จากบท
พากย์เอราวัณ และให้ฝึกซ้อมเป็นการบ้าน ดังนี้
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือน
องค์อมรินทร์
ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่อง
ผิวพรรณ
สีสังข์สะอาดโอฬาร์
๏ สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่ง
เจ็ดงา
ดังเพชรรัตน์รูจี
๏ งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
๏ กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่ง
บาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
๏ กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา
แน่งน้อยลำเพานงพาล
๏ นางหนึ่งย่อมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรูปนิรมิตมายา
๏ จับระบำรำร่ายส่ายหา ชำเลืองหางตา
ทำทีดังเทพอัปสร
๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมรินทร์
๓) ครูอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนให้นักเรียนทราบ
ความเข้าใจที่ตรงกัน
ชั่วโม
๑.งที่ ๕
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูทบทวบเกณฑ์การให้คะแนน
๒) นักเรียนเตรียมตัวทดสอบการท่องบทอาขยาน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนทดสอบการท่องบทอาขยาน โดยครูอาจ
กำหนดให้ทดสอบเป็นรายบุคคล คู่ หรือ กลุ่มเล็ก
ตามความเหมาะสม
๒) นักเรียนที่รอทดสอบ หรือทดสอบเสร็จแล้ว ให้
ทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ ตอนที่ ๑ – ๔
จากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓) เมื่อนักเรียนทุกคนทดสอบการท่องบทอาขยานและ
ทำแบบทดสอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียน
ร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูให้นักเรียนประเมินผลตนเองในการท่องจำ
บทอาขยาน และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๓. ภาพช้างเอราวัณ
๔. ซีดีตัวอย่างการแสดงโขน
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการใช้คอมพิวเตอร์พิมพ์ข้อมูล(การถอด
คำประพันธ์) และสาระการเรียนรู้ดนตรี และนาฏศิลป์
ในด้านชมการแสดงโขน รามเกียรติ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๒
วิชา ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ เรื่อง
อิศรญาณภาษิต เวลา ๕
ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา ลักษณะคำประพันธ์
และวิเคราะห์วิจารณ์อิศรญาณภาษิต
ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น เห็นคุณค่าของอิศรญาณ
ภาษิต และสามารถนำความรู้และข้อคิดที่ได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. สาระสำคัญ
อิศรญาณภาษิต หรือ “เพลงยาวเจ้าอิศรญาณ” เป็น
วรรณคดีคำสอนที่แต่งด้วยกลอนเพลงยาว
มีความไพเราะ เนื้อหาเป็นภาษิตที่คมคาย กระทบใจ
ผู้อ่าน โดยใช้โวหารเปรียบเทียบลึกซึ้งคมคาย
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น
วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้อง
ถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อ่าน
๓. สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๔. สาระการเรียนรู้
1. สรุปเนื้อหาอิศรญาณภาษิต
2. วิเคราะห์อิศรญาณภาษิต
3. อธิบายคุณค่าของอิศรญาณภาษิต
4. ประยุกต์ความรู้และข้อคิดจากเรื่องมาใช้ใน
ชีวิต
5. บทอาขยานจากเรื่อง
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K P (Practice) A (Attitude)
(Knowledge) การฝึกปฏิบัติ คุณลักษณะอัน
ความรู้ ความ พึงประสงค์
เข้าใจ
๑. มีความรู้ ๑. สามารถสรุป ๑.รักชาติ
ความเข้าใจ เนื้อหาจาก ศาสน์
เนื้อความ อิศรญาณ กษัตริย์
ของอิศรญาณ ภาษิต ๒.ซื่อสัตย์
ภาษิต ๒. สามารถ ๓.มีวินัย
๒. เห็นคุณค่า วิเคราะห์ ๔.ใฝ่เรียนรู้
ของอิศรญาณ วิจารณ์ ๕.อยู่อย่างพอ
ภาษิต เรื่องที่ เพียง
๓. มีความรู้ ได้ศึกษา ๖.มุ่งมั่นใน
ในการ ๓. สามารถนำ การทำงาน
วิเคราะห์ ความรู้และ ๗.รักความเป็น
วิจารณ์และ ข้อคิดที่ ไทย
ประเมินค่า ได้ไปประยุกต์ ๘.มีจิต
วรรณกรรมตาม ใช้ สาธารณะ
หลักการ ในชีวิต
วิจารณ์ ประจำวัน
เบื้องต้น
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑. แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมินการท่องจำบทอาขยาน
๔. แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๕. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖. แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗. แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑. ตรวจแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
๒. ตรวจใบงาน
๓. สังเกตการท่องจำบทอาขยาน
๔. ตรวจและสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
๕. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖. สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗. สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑. การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๒. การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์
การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการนำไปใช้
ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓. การประเมินผลการท่องจำบทอาขยาน ต้องผ่าน
เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
๔. การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕. การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖. การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
ตามสภาพจริง
๗. การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำแบบทดสอบ
๒. ผลการทำใบงาน
๓. สมุดภาพการถอดคำประพันธ์
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูทายสำนวนสุภาษิตกับนักเรียน โดยอาจใช้
วิธี อธิบายความหมาย แล้วให้นักเรียนทายสำนวน
(หรืออาจใช้รูปภาพประกอบโดยให้นักเรียนดูรูปภาพ
แล้วจึงให้ทายสำนวน) เช่น
เมื่อไปบ้านผู้อื่น ต้องรู้จักเกรงใจ
เจ้าของบ้าน ไม่ควรไปอยู่นานๆ เพราะอาจำ
เจ้าของบ้านรู้สึกอึดอัดใจ
(ไปเรือนท่านอย่างนั่งนาน)
สิ่งที่ขุ่นข้องใจให้รู้จักระงับไว้ อย่า
แสดงออกมาให้ผู้อื่นเห็น
(น้ำขุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก)
การคบเพื่อนที่ดี เพื่อนย่อมพาเราไปสู่ทาง
ที่ดีด้วย หากคบเพื่อนที่เป็นคนเลว เขาย่อมพา
เราไปในทางเสื่อมเสียเช่นกัน
(คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหา
ผล)
ไม่ควรนำเรื่องในครอบครัวไปเล่าสู่แก่ผู้
อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องที่ไม่ดีใน
ครอบครัว และไม่ควรนำเรื่องที่ไม่ดีจาก
ภายนอกมาสู่ครอบครัวเช่นกัน เช่น เรื่องการ
นินทาว่าร้ายผู้อื่น
(ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเข้า)
ชั่วโมง
ที่ ๒ –
๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปในคาบ
เรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ คน ศึกษาเรื่อง
อิศรญาณภาษิต จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๕๘ - ๑๖๐
๒) นักเรียนศึกษาคำศัพท์ และสำนวนที่ปรากฏใน
เรื่อง
๓) ครูอธิบายให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
๔) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกคำสอนจาก
อิศรญาณภาษิต ตอนที่นักเรียนชอบ ๑๐ ตอน
๕) ครูให้นักเรียนนำอิศรญาณภาษิต ตอนที่
นักเรียนชอบ ๑๐ ตอน มาถอดคำประพันธ์ และวาดภาพ
ประกอบ ทำเป็นสมุดภาพเพื่อส่งครูผู้สอนต่อไป
๖) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานการถอดคำ
ประพันธ์ และภาพประกอบหน้าชั้นเรียน หรือจัดแสดง
ที่ป้ายนิเทศ
๗) ครูติชม และให้คำแนะนำการทำงานของ
นักเรียนแต่ละกลุ่ม
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปข้อคิดที่ได้รับจากการเรื่อง
และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
ชั่วโ
๑.มงที่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาไปเมื่อคาบ
เรียนที่ผ่านมา
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๒.๑ และ ๑๒.๔ จาก
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๒) ครูให้นักเรียนอภิปรายคุณค่าของอิศรญาณ
ภาษิต โดยใช้หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๖๑ - ๑๖๔
๓) นักเรียนสรุปผลการอภิปราย และบันทึกความรู้
ที่ได้รับลงสมุดภาษาไทย
๔) นักเรียนทำใบงานที่ ๑๒.๒ จากหนังสือเสริม
ฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับ และบันทึกลง
สมุดภาษาไทย
๒) ครูให้นักเรียนฝึกซ้อมท่องบทอาขยาน อิศรญาณ
ภาษิต หน้า ๑๖๕ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม
๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และให้ฝึกซ้อมเป็นการบ้าน
ดังนี้
๏ ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า
น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่า
ชังระวังการ
๏ ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อน
พักอย่าหักหาญ
สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล เป็นชายชาญอย่าเพ่อ
คาดประมาทชาย
๏ รักสั้นนั้นให้รู้อยู่เพียงสั้น รัก
ยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อาย
แก่เทวดา
๏ อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทำน้อย น้ำตาล
ย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา
อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้า
เสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน
๓) ครูอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนให้นักเรียนทราบ
ความเข้าใจที่ตรงกัน
ชั่วโม
๑.งที่ ๕
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูทบทวบเกณฑ์การให้คะแนน
๒) นักเรียนเตรียมตัวทดสอบการท่องบทอาขยาน
๒. ขั้นสอน
๑) นักเรียนทดสอบการท่องบทอาขยาน โดยครูอาจ
กำหนดให้ทดสอบเป็นรายบุคคล คู่ หรือ กลุ่มเล็ก
ตามความเหมาะสม
๒) นักเรียนที่รอทดสอบ หรือทดสอบเสร็จแล้ว ให้
ทำใบงานที่ ๑๒.๕ และทำแบบทดสอบ
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ ตอนที่ ๑ – ๔ จากหนังสือ
เสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๓) เมื่อนักเรียนทุกคนทดสอบการท่องบทอาขยานและ
ทำแบบทดสอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียน
ร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
๓. ขั้นสรุปและประยุกต์
๑) ครูให้นักเรียนประเมินผลตนเองในการท่องจำ
บทอาขยาน และบันทึกลงสมุดภาษาไทย
๙. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ๓ เล่ม ๒ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ ภาษาไทย ๓ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำนักพิมพ์
เอมพันธ์ จำกัด
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาในการวาด
ภาพประกอบการถอดคำประพันธ์