แผนพอเพียงภาษาไทย3ม 5
แผนพอเพียงภาษาไทย3ม 5
แผนพอเพียงภาษาไทย3ม 5
แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ รายวิชา ภาษาไทย ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
โรงเรียนบ้านตาขุนวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยการเรียนรู้
แผ่นที่ 1 ผังโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้..ภาษาไทย
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา 6 ชั่วโมง
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ คัมภีร์
ฉันทศาสตร์ ฯ
(3 แผน 6 ชั่วโมง)
แผนที่ 1 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 2 (2 ชั่วโมง)
สาระสาคัญคัมภีร์ฉันทศาสตร์ฯเป็น
เรื่อง อ่านคิดพินิจตรอง ตาราเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณ เรื่อง มองให้ชัดพัฒนาความคิด
มฐ./ตัวชี้วัดท1.1(ม4-6/1 ม46/3,4-6/4 ของไทย เป็นการรักษาโรคของไทยใน มฐ./ตัวชี้วัดท.1.1ม4-6/5ท5.1ม4-
สาระการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงบท อดีต 6/1
ร้อยกรอง
สาระการเรียนรู้ การวิเคราะห์วิจารณ์
แผนที่ 3 (2 ชั่วโมง)
เรื่อง ผลิตสื่อสัมพันธ์เลือกสรรสมุนไพร
มฐ./ตัวชี้วัด .ท5.1(ม4-6/2ท5.1(ม4-6/4)
สาระการเรียนรู้ การสังเคราะห์วรรณกรรม
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. (K.)สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และนาข้อคิดจากวรรณกรรมมาปรับและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. (P)สามารถสื่อสารใช้ภาษาในการสื่อความและนาเสนอได้อย่างถูกต้อง
3. (A) มีความมุ่งมั่นรับผิดชอบและรอบคอบในการทางาน
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑.หลักการสังเคราะห์วรรณกรรม
2.ข้อคิดและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
5. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เป็นตาราเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณของไทยที่สืบทอดกันมา จัดทาขึ้น
ตามพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์โบราณและตารายาพื้นบ้านของ
ไทยมีคุณค่ายิ่ง สะท้อนให้เห็นถึงการรักษาโรคของไทยในอดีตทาให้ได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาตลอดจนวิถีชีวิตในอดีตได้เป็น
อย่างดี
6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร: ใช้ภาษาในการสื่อ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ความหมายและนาเสนอได้อย่างถูกต้อง 1. มีวินัย :ตรงต่อเวลา มีระเบียบวินัยและให้ความ
2. ความสามารถในการคิด : คิดอย่างมีเหตุผล เคารพแก่ผู้อื่น
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา:มีแนวคิดและ 2. ใฝ่เรียนรู้ :,มีความสนใจและกระตือรือร้นการการ
เรียน
วิจารณญาณในการแก้ปัญหา 3. อยู่อย่างพอเพียง :เลือกใช้อุปกรณ์อย่างประหยัด
ทางานเป็นระบบและรอบคอบ
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต: การปรับและ 4. มุ่งมั่นในการทางาน :มีความรับผิดชอบต่องานที่
ประยุกต์จากสิ่งแวดล้อมมาใช้ได้เหมาะสม ได้รับมอบหมาย
5. รักความเป็นไทย :มีจิตใจที่ดีและพร้อมที่จะให้
ความร่วมมือและช่วยเหลือตามกาลังและ
ความสามารถที่ตนจะกระทาได้
7. กิจกรรมการเรียนรู้ (ใช้การจัดกระบวนเรียนรู้แบบ)
ขั้นที่ 1 กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ให้นักเรียนดูยูทูปการประกอบภารกิจออกหน่วยรักษาประชาชนของหน่วยแพทย์ พอ.สว. แพทย์อาสาของ
สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล) แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้
- การแพทย์ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ขั้นที่ 2 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ให้นักเรียนอ่านบทนาเรื่องของคัมภีร์ฉันทศาตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ แล้วบันทึกสาระสาคัญ โดยครูเป็นผู้
อธิบายหรือแนะนาความรู้ที่นักเรียนควรรู้เพิ่มเติม
3. ให้นักเรียนร่วมกันอ่านคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม แล้ววิเคราะห์เรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ จากประเด็นที่
กาหนดให้กลุ่มละ ๑ ประเด็น ดังนี้
กลุ่มที่ ๑ การแพทย์มีความสาคัญอย่างไร
กลุ่มที่ 2 การแพทย์ในอดีตกับการแพทย์ในปัจจุบันเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร
กลุ่มที่ 3 คุณสมบัติที่ดีของแพทย์ที่จะรักษา คนไข้และปกป้องชีวิตของคนไข้ควรมีคุณสมบัติอย่างไร
กลุ่มที่ 4 กลวิธีการเขียนของคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็นอย่างไร
กลุ่มที่ 5 นักเรียนมีความรู้สึกนึกคิดอย่างไรเมื่ออ่านคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
๕.ให้นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นแพทย์ที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร ทีละคนแล้วเขียนแผนภาพ
ความคิด
๖.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อเรื่องและค้นหาคาศัพทานุกรม หรือหนังสือพจนานุกรมประกอบส่งตัวแทนออกมา
สรุปผลการอภิปรายของกลุ่มหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
๗. ให้นักเรียนในกลุ่มระดมพลังสมองรวบรวมสมุนไพรรักษาโรคใกล้ตัวและวางแผนการทาชิ้นงาน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปกิจกรรมการเรียนรู้
๘. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เป็นตาราเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณของไทยที่สืบทอดกันมา จัดทา
ขึ้นตามพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์โบราณและตารายาพื้นบ้านของ
ไทยมีคุณค่ายิ่ง สะท้อนให้เห็นถึงการรักษาโรคของไทยในอดีตทาให้ได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาตลอดจนวิถีชีวิตในอดีตได้เป็น
อย่างดี
8. การวัดและประเมินผล
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนภาษาไทยวรรณดีวิจักษ์ ม. 5
2.ใบงาน
3. ยูทูป
4.พจนานุกรม
9.2 แหล่งการเรียนรู้
ห้องสมุด
แผ่นที่ 4 ชุดคาถามกระตุน้ เพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ..คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา 2 ชั่วโมง
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1. นักเรียนเคยป่วย และไปหาหมอหรือไม่
Q2. นักเรียนเคยได้รับการรักษาแล้วรู้สึกอย่างไร
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน
Q3. ในการไปพบแพทย์มีค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด
Q4. อาการป่วยหลังจากพบแพทย์แล้วเป็นอย่างไร
Q5 หากนักเรียนไม่สบายเพียงเล็กน้อยนักเรียนคิดว่ามีวิธีการอื่นใดที่จะรักษาและเยียวยาอาการที่เป็นอยู่ได้
Q6. ข้อดีและข้อเสียในการไปพบแพทย์มีหรือไม่
Q7. ให้นักเรียนเปรียบเทียบการรักษาโดยแพทย์และการบรรเทาอาการด้วยตนเอง
Q8. สมุนไพรส่งผลดีต่อการรักษา และสุขภาพอย่างไร
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน
Q9. นักเรียนจะเชิญชวนให้ผู้อื่นหันมาใช้สมุนไพรในการรักษาโรคได้อย่างไร
Q10นักเรียนมีวิธีการส่งเสริมและอนุรักษ์การใช้สมุนไพรรักษาโรคโดยวิธีใด
แผ่นที่ 5 แนวทางที่ครูนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผู้สอนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังนี้
ความรู้ที่ครูต้องมีก่อนสอน คุณธรรมของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. สมุนไพรและประโยชน์ที่ใช้รักษาโรคพื้นฐาน 1. เมตตา 4.รอบคอบ
2. สมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ใน 2. ยุติธรรม 5. ประหยัด
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ตรงต่อเวลา 6.รับผิดชอบ
ประเด็น มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ออกแบบและจัดกิจกรรมการ เลือกเนื้อหาการเรียนรู้ได้ ครูวางแผนการเรียนการ
เนื้อหา เรียนรู้ เหมาะสมกับวัย สอดคล้องตรงตาม สอนตามเนื้อหาได้อย่างเป็น
ความสามารถและเวลาของ หลักสูตรและมาตรฐาน ขั้นตอน
ผู้เรียน การเรียนรู้
ครูจัดกระบวนการรู้ให้เหมาะสม จัดการเรียนรู้ได้ตาม ครูมีเวลาเพียงพอในการ
เวลา เพียงพอกับเวลาที่กาหนดไว้ กระบวนการครบถ้วน เตรียมความพร้อมและ
ตามที่วางแผนไว้ บริหารจัดการเรื่องเวลาได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้หมาะสม มีความสะดวกและง่าย ครูเตรียมการป้องกันและ
การจัด กับความสามารถของผู้เรียน ต่อการเตรียมการในการ แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
กิจกรรม จัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้
มีปริมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ เลือกใช้สื่อได้เหมาะสม ครูมีการกาหนดเกณฑ์การ
สื่อ/อุปกรณ์ ต่อจานวนนักเรียน ใช้วัสดุ กับเนื้อหาการจัดการ ประเมินที่ชัดเจน จัดเตรียม
อุปกรณ์ที่หาได้ง่ายและมีอยู่ใน เรียนรู้เลือกใช้อุปกรณ์ได้ วัสดุ อุปกรณ์และสถานที่จัด
ท้องถิ่นมาใช้ในการจัดกิจกรรม ถูกประเภท กิจกรรมการเรียนรู้ด้วย
ความรอบคอบระมัดระวัง
กาหนดเนื้อหาสาระ และกิจกรรม เลือกใช้แหล่งเรียนรู้ที่ ครูมีการวางแผนในการ
แหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้เหมาะสมกับแหล่ง เหมาะสมกับเวลาและ เลือกใช้แหล่งเรียนรู้ให้
เรียนรู้ สถานที่ เหมาะสมกับเนื้อหา เตรียม
วิธีป้องกันและแก้ปัญหาจาก
การปฏิบัติกิจกรรม
แผ่นที่ 6 ผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา 2 ชั่วโมง
สมรรถนะ C 4. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต 4.1 เรียนรู้ด้วย
ตนเองได้เหมาะสมตาม
วัย
นาไปสูค่ วามยั่งยืน
หลักทรงงานในหลวงรัชกาล 9
ข้อที่4. ทาตามลาดับขั้น 17. การพึ่งพาตนเอง
พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่ 10
ข้อที่-๒. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม
SDGs ๑๗ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 3.Good Health and well-being รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดขี องทุกคนทุกช่วงอายุ
แผนการจัดการเรียนรู้
แผ่นที่ ๒ แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. (K.)สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และนาข้อคิดจากวรรณกรรมมาปรับและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. (P)สามารถสื่อสารใช้ภาษาในการสื่อความและนาเสนอได้อย่างถูกต้อง
3. (A) มีความมุ่งมั่นรับผิดชอบและรอบคอบในการทางาน
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
๑.หลักการสังเคราะห์วรรณกรรม
2.ข้อคิดและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
5. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
6. คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เป็นตาราเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณของไทยที่สืบทอดกันมา
จัดทาขึ้นตามพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์โบราณและ
ตารายาพื้นบ้านของไทยมีคุณค่ายิ่ง สะท้อนให้เห็นถึงการรักษาโรคของไทยในอดีตทาให้ได้เรียนรู้ถึงความเป็นมา
ตลอดจนวิถีชีวิตในอดีตได้เป็นอย่างดี
6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร: ใช้ภาษาในการสื่อ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ความหมายและนาเสนอได้อย่างถูกต้อง 1. มีวินัย :ตรงต่อเวลา มีระเบียบวินัยและให้ความ
2. ความสามารถในการคิด : คิดอย่างมีเหตุผล เคารพแก่ผู้อื่น
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา:มีแนวคิดและ 2. ใฝ่เรียนรู้ :,มีความสนใจและกระตือรือร้นการการ
วิจารณญาณในการแก้ปัญหา เรียน
3. อยู่อย่างพอเพียง :เลือกใช้อุปกรณ์อย่างประหยัด
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต: การปรับและ ทางานเป็นระบบและรอบคอบ
ประยุกต์จากสิ่งแวดล้อมมาใช้ได้เหมาะสม 4. มุ่งมั่นในการทางาน :มีความรับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมาย
5. รักความเป็นไทย :มีจิตใจที่ดีและพร้อมที่จะให้
ความร่วมมือและช่วยเหลือตามกาลังและ
ความสามารถที่ตนจะกระทาได้
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
7. ให้นักเรียนดูยูทูปการประกอบภารกิจออกหน่วยรักษาประชาชนของหน่วยแพทย์ พอ.สว. แพทย์อาสาของ
สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล) แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้
- การแพทย์ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ขั้นที่ 2 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
8. ให้นักเรียนอ่านบทนาเรื่องของคัมภีร์ฉันทศาตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ แล้วบันทึกสาระสาคัญ โดยครูเป็นผู้
อธิบายหรือแนะนาความรู้ที่นักเรียนควรรู้เพิ่มเติม
9. ให้นักเรียนร่วมกันอ่านคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
10. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม แล้ววิเคราะห์เรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ จากประเด็นที่
กาหนดให้กลุม่ ละ ๑ ประเด็น ดังนี้
กลุ่มที่ ๑ การแพทย์มีความสาคัญอย่างไร
กลุ่มที่ 2 การแพทย์ในอดีตกับการแพทย์ในปัจจุบันเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร
กลุ่มที่ 3 คุณสมบัติที่ดีของแพทย์ที่จะรักษา คนไข้และปกป้องชีวิตของคนไข้ควรมีคุณสมบัติอย่างไร
กลุ่มที่ 4 กลวิธีการเขียนของคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็นอย่างไร
กลุ่มที่ 5 นักเรียนมีความรู้สึกนึกคิดอย่างไรเมื่ออ่านคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
๕.ให้นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นแพทย์ที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร ทีละคนแล้วเขียนแผนภาพ
ความคิด
๖.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อเรื่องและค้นหาคาศัพทานุกรม หรือหนังสือพจนานุกรมประกอบส่งตัวแทนออกมา
สรุปผลการอภิปรายของกลุ่มหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
๗. ให้นักเรียนในกลุ่มระดมพลังสมองรวบรวมสมุนไพรรักษาโรคใกล้ตัวและวางแผนการทาชิ้นงาน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปกิจกรรมการเรียนรู้
๘. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เป็นตาราเกี่ยวกับการแพทย์แผนโบราณของไทยที่สืบทอดกันมา จัดทา
ขึ้นตามพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์โบราณและตารายาพื้นบ้านของ
ไทยมีคุณค่ายิ่ง สะท้อนให้เห็นถึงการรักษาโรคของไทยในอดีตทาให้ได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาตลอดจนวิถีชีวิตในอดีตได้เป็น
อย่างดี
8. การวัดและประเมินผล
ลาดับที่ วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1 ทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 60
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนภาษาไทยวรรณดีวิจักษ์ ม. 5
2.ใบงาน
3. ยูทูป
4.พจนานุกรม
9.2 แหล่งการเรียนรู้
ห้องสมุด
แผ่นที่ ๓ ชุดคาถามกระตุน้ เพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ระดับชั้น .....ม.5..... เวลา .....2... ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1. นักเรียนเคยป่วย และไปหาหมอหรือไม่
Q2. นักเรียนเคยได้รับการรักษาแล้วรู้สึกอย่างไร
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน
Q3. ในการไปพบแพทย์มีค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด
Q4. อาการป่วยหลังจากพบแพทย์แล้วเป็นอย่างไร
Q5 หากนักเรียนไม่สบายเพียงเล็กน้อยนักเรียนคิดว่ามีวิธีการอื่นใดที่จะรักษาและเยียวยาอาการที่เป็นอยู่ได้
Q6. ข้อดีและข้อเสียในการไปพบแพทย์มีหรือไม่
Q7. ให้นักเรียนเปรียบเทียบการรักษาโดยแพทย์และการบรรเทาอาการด้วยตนเอง
Q8. สมุนไพรส่งผลดีต่อการรักษา และสุขภาพอย่างไร
คาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน
Q9. นักเรียนจะเชิญชวนให้ผู้อื่นหันมาใช้สมุนไพรในการรักษาโรคได้อย่างไร
Q10นักเรียนมีวิธีการส่งเสริมและอนุรักษ์การใช้สมุนไพรรักษาโรคโดยวิธีใด
แผ่นที่ ๔ แนวทางที่ครูนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ระดับชั้น .....ม.5.... เวลา ...2..... ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้.ภาษาไทย
สมรรถนะ C 4. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต 4.1 เรียนรู้ด้วย
ตนเองได้เหมาะสมตาม
วัย
นาไปสูค่ วามยั่งยืน
หลักทรงงานในหลวงรัชกาล 9
ข้อที่4. ทาตามลาดับขั้น 17. การพึ่งพาตนเอง
พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่ 10
ข้อที่-๒. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม
SDGs ๑๗ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 3.Good Health and well-being รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดขี องทุกคนทุกช่วงอายุ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการสอน
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ ............................................
ข้อเสนอแนะ/แก้ไข
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................
(นางสาวกิ่งดาว ช่วยชนะ)
วันที่............เดือน............................พ.ศ............
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นางสาวกิ่งดาว ช่วยชนะ)
หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาไทย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นางกัญจนา สมชาติ)
หัวหน้าฝ่าย / รองฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นายบุญเลิศ ทองชล)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านตาขุนวิทยา