Example

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย

ชุด ภาษาเพื่อชีวิต

ภาษาพาที
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

  ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย
ค�ำน�ำ
ชุด ภาษาเพื่อชีวิต
ภาษาพาที หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพือ่ ชีวติ ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีที่ ๕ เป็นหนังสือทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จัดท�ำขึน้ ส�ำหรับนักเรียน
ใช้ฝึกทักษะและสร้างนิสัยรักการอ่าน ครูใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท�ำหนังสือเรียนภาษาไทย กลุ่มหลักภาษาและการใช้
ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ซึง่ มี รองศาสตราจารย์ปติ นิ นั ธ์ สุทธสาร เป็นประธาน
ลิขสิทธิ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรรมการ และจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์และครูภาษาไทย จากเขตพืน้ ที่
กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชด�ำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ การศึกษาประถมศึกษาทั้ง ๔ ภูมิภาค ในด้านการน�ำไปใช้ ดังรายนามท้ายหนังสือนี้
โทรศัพท์และโทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ ๕ มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะทางภาษาจากการอ่าน เขียน ฟัง ดู พูด
เรือ่ งทีน่ า่ สนใจ ผสานความเข้าใจลักษณะของภาษาไทย ตระหนักรับรูใ้ นความงามของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา กระบวนการคิดและการบูรณาการ เพื่อน�ำไปสู่การเรียนรู้ด้วยตนเอง
และกระตุ้นความสนใจ สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาเหมาะแก่วัย ชั้นปีและสูงสุด
ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาด�ำเนินการจัดพิมพ์ เต็มตามศักยภาพ เป็นพื้นฐานการคิดเชื่อมโยงในการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ISBN 978-974-01-9757-7 ปลูกฝังวัฒนธรรมทางภาษา ความเป็นไทย ความเป็นคนดีของสังคมไทยและสังคมโลก
พิมพ์ครั้งที่สอง รวมทั้งการน�ำความรู้และความคิดไปใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตต่อไป
พ.ศ. ๒๕๕๔ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานหวังว่า หนังสือเรียนเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์
จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ เล่ม ต่อการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการและบรรลุตาม
จุดหมายของหลักสูตร หากมีข้อเสนอแนะ กรุณาแจ้งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ขัน้ พืน้ ฐาน เพือ่ ปรับปรุงแก้ไขให้หนังสือสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ขอขอบคุณคณะกรรมการและผูม้ สี ว่ น
๒๒๔๙ ถนนลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง เกี่ยวข้องในการจัดท�ำหนังสือเรียนนี้ให้ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้
กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๓๓, ๐ ๒๕๑๔​๔๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๙๙๕๖
www.suksapan.or.th (นายชินภัทร ภูมิรัตน)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓
อ่านเสริม จัดไว้เพิ่มเติมจากบทอ่าน เรียบเรียงขึ้นให้สอดคล้องกับแก่น
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับครู ของเรื่องแต่ละบท บางบทเรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว และบางบท
เรียบเรียงเป็นร้อยกรอง
การวางแผนจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ครูจ�ำเป็นต้อง อ่านเพิ่ม เติมความหมาย เสนอความรู้ และความหมายของค�ำศัพท์ทนี่ กั เรียน
๑. ศึกษาหลักสูตรและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักสูตร เพือ่ ให้เข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ ควรศึกษา
และตัวชี้วัด หรือสิ่งอันพึงประสงค์ที่ควรจะเกิดแก่นักเรียน
๒. ศึกษาหนังสือเรียน ภาษาพาที หนังสือเรียน วรรณคดีล�ำน�ำ แล้ววางแผน
จัดการเรียนรู้ โดยใช้เนื้อหาแต่ละบทของหนังสือเรียนทั้ง ๒ เล่ม สลับบทกันตามความ
เหมาะสม เพือ่ ให้นกั เรียนได้เรียนรูจ้ ากหนังสือเรียน ภาษาพาที ตลอดปีการศึกษา และเรียนรูจ้ าก อธิบายเพิ่ม เติมความรู้ เสนอเนื้อหาให้ความเข้าใจด้านหลักภาษาและ
หนังสือเรียน วรรณคดีล�ำน�ำ ตลอดปีการศึกษาเช่นเดียวกัน การใช้ภาษาที่นักเรียนในชั้นนี้ต้องเรียนรู้
๓. ศึกษาหนังสือเรียน ภาษาพาที หนังสือเรียน วรรณคดีล�ำน�ำ และแบบฝึกหัด
ทักษะภาษา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ทุกเล่ม ทุกบทอย่างละเอียด เพือ่ ใช้เป็นสือ่ หลักในการจัด
การเรียนการสอนภาษาไทย รวมทั้งหนังสือเรียน วรรณกรรมปฏิสัมพันธ์ แบบฝึกหัด กิจกรรม เป็นส่วนเสนอแนะให้นักเรียนได้ฝึกทักษะภาษาและความคิดใน
ทักษะปฏิสัมพันธ์ หนังสือหรือสื่ออื่นๆ เพื่อใช้เสริมในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย แต่ละบท ครูสามารถต่อยอดความคิด หรือปรับกิจกรรมได้อย่าง
แล้วจัดหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ตามความเหมาะสม อิสระ และสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับนักเรียน สภาพแวดล้อมของ
๔. ศึกษาพื้นฐานความรู้ความสามารถด้านภาษาไทยและด้านอื่นๆ ของนักเรียน โดย แต่ละสถานศึกษา ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำทุกกิจกรรม ให้เลือกตามความ
ใช้วิธีปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบ สัมภาษณ์ ฯลฯ และก่อนเริ่มบทเรียนควรเตรียมความพร้อม เหมาะสม
อย่างน้อย ๑-๒ สัปดาห์
นักเรียนจ�ำเป็นต้องใช้แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต
การจัดกิจกรรมการเรียนรูภ้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ โดยใช้หนังสือเรียน ภาษาพาที
ทักษะภาษา ควบคู่กับการใช้หนังสือเรียน ภาษาพาที หนังสือเรียน วรรณคดีล�ำน�ำ เพื่อฝึก
ครูจ�ำเป็นต้องเข้าใจแนวการน�ำเสนอเนื้อหาแต่ละบทของหนังสือเรียน ภาษาพาที
ทักษะทางภาษาและศึกษาวรรณคดี ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม ตามสาระและ
ซึ่งประกอบด้วย
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดย
บทอ่าน น�ำเสนอโดยผูกเป็นเรื่องที่น่าสนใจ มีตัวละคร เพื่อให้นักเรียน
ครูผู้สอนต้องดูแลเอาใจใส่ ให้ความรู้ความเข้าใจอย่างใกล้ชิด
สนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน รู้จักใช้ภาษาไทย
ขณะเดียวกัน หากนักเรียนมีศักยภาพพร้อมก็สามารถเลือกศึกษาบทเรียนบางบทจาก
ที่ถูกต้อง ไพเราะสละสลวย และแทรกเนื้อหาความคิดที่บูรณาการ
หนังสือเรียน วรรณกรรมปฏิสมั พันธ์ และแบบฝึกหัด ทักษะปฏิสมั พันธ์ ซึง่ จัดท�ำส�ำหรับชัน้
ความเข้าใจวิถีความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมคุณธรรม
ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ก็จะสามารถพัฒนาตนเองได้สูงสุดเต็มตามศักยภาพ เป็น “นักเรียน
จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ และรู้จักเท่าทันโลกตามวัย
ไทยในอุดมคติและความหวังยิ่งของสังคมไทย”
ประสบการณ์ และชั้นปี
สารบัญ บ ทที่ หน้า

บทที
่ หน้า ๖ ร่วมแรง ร่วมใจ ๙๓
อ ่านเสริม : เรื่องของมด
๑ สายน�้ำ สายชีวิต ๑ หลักและการใช้ภาษา : แผนภาพโครงเรื่อง
อ ่านเสริม : น�้ำ การอ่านข่าวสารของทางราชการ
หลักและการใช้ภาษา : การอ่านร้อยกรอง ค�ำอุทาน
การตัง้ ค�ำถาม และการตอบค�ำถาม ๗ จากคลองสู่ห้องแอร์ ๑๑๑

๒ ครอบครัวพอเพียง ๑๗ อ ่านเสริม : เจ้าชายแตงโม
อ ่านเสริม : ควายหงานกับผักหวานป่า หลักและการใช้ภาษา : เรียงความ
หลักและการใช้ภาษา : การอ่านจับใจความ การเขียนเชิงจินตนาการ

การพูดและเขียนแสดงความรู้สึก ๘ ดั่งหยาดทิพย์ชโลมใจ ๑๒๙

๓ คนละไม้ คนละมือ ๓๕ อ ่านเสริม : พระมหากษัตริย์ไทย
อ่านเสริม : จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ หลักและการใช้ภาษา : ราชาศัพท์
หลักและการใช้ภาษา : ค�ำบุพบท พจนานุกรม

เครื่องหมายวรรคตอน ๙ ก้าวให้ไกล ไปให้ถึง ๑๔๑
การอ่านร้อยแก้ว อ ่านเสริม : ลูกยางเดินทาง
มารยาทในการอ่าน หลักและการใช้ภาษา : การคิดวิเคราะห์ในการรับสาร

๔ ภัยเงียบ ๕๕ การพูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์
อ ่านเสริม : การดูแลบ�ำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ การเขียนบันทึกจากการอ่าน

หลักและการใช้ภาษา : ประโยคและส่วนประกอบของประโยค ๑๐ ชีวิตมีค่า ๑๕๗
ส�ำนวนที่เป็นสุภาษิต อ่านเสริม : กีสาโคตมีเถรี
ค�ำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย หลักและการใช้ภาษา : จดหมายถึงพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ปกครอง

๕ ประชาธิปไตยใบกลาง ๗๓ อักษรย่อ

อ ่านเสริม : บทเพลงแห่งประชาธิปไตย ๑๑ ปลอดภัยไว้ก่อน ๑๗๓
หลักและการใช้ภาษา : ค�ำเชื่อม อ ่านเสริม : ไม้ดอกในเมืองไทย
การย่อความ หลักและการใช้ภาษา : ภาษาพูด ภาษาเขียน
การฟังและการอ่านงานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ภาษาถิ่น

การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
การพูดแสดงความรู้ ความคิด


บทที
่ หน้า

๑๒ หน้าต่างที่เปิดกว้าง ๑๙๑
อ ่านเสริม : ข้าวงอก ข้าวกล้องงอก น�้ำข้าวกล้องงอก
หลักและการใช้ภาษา : การเลือกหนังสืออ่าน
โครงงาน
๑๓ ภาษาจรรโลงใจ ๒๐๙
อ ่านเสริม : ปริศนาค�ำทาย
หลักและการใช้ภาษา : กาพย์ยานี ๑๑
๑๔ รู้ไว้ได้ประโยชน์ ๒๒๓
อ ่านเสริม : เกิดแล้วต้องมีชื่อ
หลักและการใช้ภาษา : การเขียนแนะน�ำ
การกรอกแบบรายการ บทนี้นะหนูจ๋า เปรียบธาราดังชีวิต
๑๕ แรงกระทบ ๒๓๗ เส้นทางรอยลิขิต สุดจะคิดหลีกเลี่ยงพ้น
อ ่านเสริม : คิดดี ท�ำดี มีสุข คิดชั่ว ท�ำชั่ว พบทุกข์ มีทั้งเกษมสุข และมีทุกข์มาเจือปน
หลักและการใช้ภาษา : ส�ำนวน
การคัดลายมือ
รู้ไว้สอนใจตน ตัดกังวลมุ่งทำ�ดี
ฝึกหัดอ่านร้อยกรอง คำ�คล้องจองวรรคถูกที่
๑๖ วิถีชีวิตไทย ๒๕๑
อ ่านเสริม : เด็กดีมีมารยาท คำ�ถามคำ�ตอบมี แทรกความรู้คู่คุณธรรม
หลักและการใช้ภาษา : การเขียนค�ำอวยพร
มารยาทในการฟัง การดู และการพูดสนทนา
การท่องจ�ำบทประพันธ์

1
จากล�ำธารสายน้อยค่อยรินไหล จากขุนเขาเนินไพรในป่ากว้าง
ล�ำธารน้อยเลาะเรื่อยมาตามทาง บรรจบกันเป็นล�ำรางชลาลัย
เป็นแหล่งนํ้าอาบกินของสัตว์ป่า เป็นบ้านของเหล่าปลาได้อาศัย
เป็นหยาดทิพย์ชโลมดินถิ่นพฤกษ์ไพร เขียวชอุ่มทั่วไปทั้งตาปี

ผ่านหมู่บ้านน้อยใหญ่ไหลอ่อยเอื่อย ผู้คนเหนื่อยคลายร้อนต่างเร็วรี่
ชวนกันลงแหวกว่ายในนที บ้างซักผ้าตักวารีไว้อาบกิน
สายธาราบัดนี้สิกว้างใหญ่ ไหลเรื่อยไปสู่มหาชลาสินธุ์
จากโขดเขาสูงใหญ่เหนือแผ่นดิน เป็นนํ้าตกกระทบหินสนั่นดัง

จากล�ำธารสายน้อยค่อยรินไหล จากขุนเขาเนินไพรในป่ากว้าง

2 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 3


ถึงหน้าฝนนํ้าไหลไม่ขาดสาย นํ้าเหนือบ่าดินทลายเซาะแนวฝั่ง
ขาดต้นไม้คอยอุ้มนํ้าดุจเกราะบัง กั้นดินไว้จึงล้นหลั่งกลายเป็นภัย
ครั้นถึงครานํ้าลดจนเหือดแห้ง ผืนแผ่นดินแตกระแหงก่อทุกข์ใหม่
ข้าวในนาปลาในหนองต้องตายไป เฝ้ารอคอยเมื่อไรฝนจะมา

ตักตะกอนช้อนขยะให้หมดสิ้น ให้นํ้าใสไหลรินจนถ้วนทั่ว
เอื้ออารีจริงใจไม่ถือตัว ความหมองมัวจางไปใจเบิกบาน
ปล่อยนํ้าขุ่นทิ้งไปไม่เฝ้าคิด เปิดนํ้าใสสร้างมิตรสมัครสมาน
ไมตรีจิตปกป้องผองภัยพาล สุขสราญเมตตาธรรมน�ำจิตใจ
มองสายนํ้าเปรียบดังสายชีวิต รอยลิขิตเส้นทางไปข้างหน้า
โลกวัยเด็กสดใสไร้มายา ชีวิตสุขหรรษาทุกคืนวัน
พอเติบโตเริ่มประสบพบปัญหา ต้องฝึกใช้ปัญญาความมุ่งมั่น
หากโชคดีญาติมิตรช่วยด้วยผูกพัน ปัญหาพลันคลี่คลายหายกังวล
หากโชคร้ายเจียนตายต้องฝืนสู้ แม้หดหู่มองทางไหนไม่เห็นผล
ขาดเพื่อนช่วยคลี่คลายหายอับจน ดุจนํ้าล้นท่วมพื้นพสุธา
ตั้งสติอย่าท้อรอจังหวะ ชีวิตจะแจ่มพลันในวันหน้า
คิดแก้ไขกอบกู้สู้ชะตา เหมือนนํ้าตกต้องแผ่นผากล้าเผชิญ
นํ้ายังไหลเรื่อยไปไม่จบสิ้น ยังให้คุณแก่แผ่นดินน่าสรรเสริญ
เปรียบคนคิดก้าวหน้าพาเจริญ มุ่งด�ำเนินท�ำความดีมีนํ้าใจ
หากเป็นสายนํ้าใสใจสะอาด บุปผชาติสองฝั่งพรั่งไสว
นํ้าข้นขุ่นครุ่นคิดผิดเพราะใคร หาคนผิดเรื่อยไปใจขุ่นมัว

4 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 5


เนือ่ งจากน�ำ้ มีความส�ำคัญดังกล่าว จึงมีการรณรงค์เพือ่ ช่วยกันอนุรกั ษ์นำ �้
ดูแลแหล่งต้นน�ำ้ ต่างๆ ให้อยูใ่ นสภาพทีส่ มบูรณ์ ช่วยกันรักษาระบบนิเวศของน�ำ้
อ่านเสริม เพื่อป้องกันการเน่าเสียของแหล่งน�้ำต่างๆ และร่วมกันพัฒนาแหล่งน�้ำ ดังจะ
เห็นได้จากโครงการในพระราชด�ำริดา้ นการพัฒนาแหล่งน�ำ้ หลายโครงการ เช่น
การพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร การรักษาต้นน�้ำล�ำธาร การผลิตไฟฟ้า
น�้ำ
การระบายน�้ำออกจากพื้นที่ลุ่ม การบรรเทาอุทกภัย โครงการเหล่านี้กระจาย
ไปทุกภูมิภาคตามลักษณะความต้องการและความจ�ำเป็นของแต่ละพื้นที่
ในแต่ละครอบครัว นอกจากจะช่วยรักษาระบบนิเวศของน�้ำแล้ว ยังต้อง
ช่วยกันดูแลให้ใช้น�้ำอย่างคุ้มค่า ด้วยวิธีการประหยัดน�้ำอย่างง่ายๆ เช่น การ
แปรงฟัน ควรใช้แก้วหรือขันรองน�้ำส�ำหรับบ้วนปาก แทนการเปิดน�้ำจากก๊อก
ทิ้งไว้ขณะแปรงฟัน การอาบน�้ำถ้าใช้ฝักบัวควรปิดน�้ำขณะถูสบู่ การซักผ้า
แต่ละครั้งให้มีจ�ำนวนผ้ามากพอ ถ้าซักด้วยมือควรน�ำน�้ำสุดท้ายไปรดต้นไม้
การรดน�ำ้ ต้นไม้อาจใช้บวั รดน�ำ้ จะประหยัดกว่าการใช้สายยาง การล้างรถควรปัด
ฝุน่ ออกจากรถก่อน แล้วเช็ดรถโดยใช้ผา้ ชุบน�ำ้ ในถัง สิง่ เหล่านีเ้ ป็นข้อคิดเตือนใจ
ให้ทุกคนเห็นคุณค่าของน�้ำด้วยการใช้น�้ำอย่างประหยัดและคุ้มค่า
น�ำ้ เป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับการด�ำรงชีวติ ของทุกคน เมือ่ พูดถึงน�ำ้ ทุกคนจะคิด
องค์การสหประชาชาติได้ก�ำหนดให้วันที่ ๒๒ มีนาคมของทุกปีเป็น
ว่าน�ำ้ เป็นเพียงของเหลว แต่ความจริงแล้วน�ำ้ มีหลายสถานะ เป็นได้ทงั้ ของเหลว
“วันน�้ำโลก” เพื่อรณรงค์ให้เห็นความส�ำคัญของน�้ำที่มีต่อมวลมนุษย์ จะได้
ของแข็งและก๊าซ เป็นของแข็งในสภาพของน�้ำแข็ง และเป็นก๊าซเมื่อกลายเป็น
ร่วมมือกันดูแลรักษาแหล่งน�ำ ้ เพือ่ ให้มนี ำ�้ กินน�ำ้ ใช้ทสี่ ะอาดและเพียงพอตลอดไป
ไอน�้ำ
ข้อมูลจากสารานุกรมวิกิพีเดีย ซึ่งเผยแพร่เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒ ระบุว่า บน
พื้นผิวโลกมีน�้ำประมาณ ๗๑% ใต้พื้นผิวของโลกมีน�้ำ ๑.๖% ในอากาศมีน�้ำ
๐.๐๐๐๑% น�ำ้ เหล่านีเ้ ป็นน�้ำเค็มในมหาสมุทรประมาณ ๙๗% เป็นธารน�้ำแข็ง
ปกคลุมขั้วโลก ๒.๔% และที่เหลืออีก ๐.๖% จะเป็นน�้ำจากแม่น�้ำ ทะเลสาบ
ล�ำคลอง ล�ำธาร ห้วย หนอง ฯลฯ
ร่างกายของคนเราก็มีน�้ำเป็นส่วนประกอบ น�้ำช่วยควบคุมอุณหภูมิใน
ร่างกายให้คงทีด่ ้วยการขับเหงื่อ ในกระบวนการย่อยอาหารต้องมีน�้ำเข้าไปช่วย
การขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย และการล�ำเลียงอาหารไปสูส่ ว่ นต่างๆ ของ
ร่างกายก็ต้องมีน�้ำเข้าไปช่วยเช่นกัน

6 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 7


อ่านเพิ่ม เติมความหมาย

ตาปี
แตกระแหง
ตลอดปี (มาจากค�ำว่า ชั่วนาตาปี)
แตกเป็นร่องๆ เช่น ดินแตกระแหง
ทรัพยากร สิ่งทั้งหลายทั้งปวงอันมีคุณค่า
ทลาย แตกหักหรือพังกระจัดกระจายของสิ่งที่เป็น
กลุ่มก้อน
ธารา สายน�้ำ, ล�ำธาร
เกราะ โขด นที แม่น�้ำ
บรรจบ จรดกัน, พบกัน, ติดต่อกัน
บริโภค กิน
บริสุทธิ์ แท้, ไม่มีสิ่งใดเจือปน
กังวล เป็นห่วง บุปผชาติ ดอกไม้
เกราะ เครื่องหุ้มส�ำหรับป้องกันอันตราย ปัจจัย องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ
ขุ่นมัว ไม่แจ่มใส พรั่ง รวมกันอยู่มาก
โขด ดินหรือหินที่สูงขึ้นเป็นโคกเป็นเนิน พฤกษ์ ต้นไม้
ครา ครั้ง, คราว พสุธา แผ่นดิน
คลอง ทางน�้ำหรือล�ำน�้ำที่เกิดขึ้นเองหรือขุดขึ้น แผ่นผา แผ่นหินบนภูเขาที่มีลักษณะตั้งชัน
เชื่อมกับแม่น�้ำหรือทะเล เผชิญ ปะทะกัน, ชนกัน
คลี่คลาย เบาบางลงโดยล�ำดับ ภัยพาล อันตรายจากสิ่งชั่วร้าย
เจริญ เติบโต, งอกงาม มหาสมุทร ทะเลอันกว้างใหญ่
ชลาลัย แม่น�้ำ มายา การแกล้งท�ำ, การลวง
ชลาสินธุ์ แม่น�้ำ, ทะเล ไมตรีจิต มีจิตใจหวังดีต่อกัน
ชโลม ลูบไล้ให้เปียก, ท�ำให้ชุ่มชื่น ระเหย อาการที่ของเหลวกลายเป็นไอ
ชอุ่ม ชุ่ม, สดชื่น ล�ำธาร ทางน�้ำที่ไหลจากเขา
ชะตา ลักษณะที่แสดงเหตุดีและเหตุร้าย ล�ำราง ทางน�้ำเล็กๆ ที่ระบายน�้ำลงสู่แม่น�้ำ
เซาะ ท�ำให้กร่อนหรือสึกหรอเข้าไปทีละน้อย ลิขิต รอยขีด, เขียน

8 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 9


วารี น�้ำ อธิบายเพิ่ม เติมความรู้
สรรเสริญ ยกย่อง
สรรพสิ่ง ทุกสิง่ ทุกอย่าง รวมทัง้ สิง่ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ การอ่านร้อยกรอง
สุขสราญ สุขสบายทั้งกายและใจ อันร้อยกรองภาษาไทยใช่อวดอ้าง ไทยสรรค์สร้างวรรณกรรมนำ�สุขศรี
ไสว อาการทีช่ ขู นึ้ และเคลือ่ นไหวไปมา เช่น ดอกไม้ รสสุนทรชวนใจให้เปรมปรีดิ์ โวหารมีนานาน่าพินิจ
ชูดอกไสว ฉันทลักษณ์ของไทยพิไลเลิศ ได้ก่อเกิดงานประพันธ์อันวิจิตร
หนองน�้ำ แอ่งน�้ำที่ลาดลึกลงไปและมีน�้ำขัง เร้าอารมณ์สะเทือนใจยั่วให้คิด มีคติชีวิตจรรโลงใจ
หยาดทิพย์ หยดน�้ำวิเศษ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ
หรรษา รื่นเริง, ยินดี
ห้วย แอ่งน�ำ้ ลึกกว้าง มีทางน�ำ้ ไหลจากภูเขามาขัง บทร้อยกรองเป็นบทประพันธ์ทผี่ แู้ ต่งคิดประดิษฐ์เรียบเรียงถ้อยค�ำ แต่ละ
อยู่ตลอดปี วรรค แต่ละบทอย่างประณีตบรรจงตามลักษณะกฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์ ท�ำให้
เหือดแห้ง ค่อย ๆ หมดไป เกิดเสียง จังหวะ ลีลาที่งดงามเกิดความไพเราะและเพลิดเพลินไปกับน�้ำเสียง
องค์การสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ และเนื้อหาของเรื่องนั้นๆ
ปกป้องดูแลความสงบสุขของมวลมนุษย์ การอ่านร้อยกรองโดยทั่วไปอาจแบ่งได้เป็น อ่านแบบธรรมดา อ่านแบบ
อุณหภูมิ (อุน-หะ-พูม) ระดับความสูงต�ำ่ ของความร้อน นิยมวัดด้วย เจรจา และอ่านแบบท�ำนองเสนาะ
เทอร์โมมิเตอร์ อ่านแบบธรรมดา เป็นการอ่านเหมือนร้อยแก้ว แต่เน้นจังหวะวรรคตอน
อาจมีการทอดเสียงบ้างเล็กน้อย
อ่านแบบเจรจา เป็นการอ่านเหมือนร้อยแก้ว เน้นจังหวะวรรคตอน
และเน้นเสียงเพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึก คล้ายการพูดมากกว่าการอ่านแบบ
ธรรมดา
อ่านแบบท�ำนองเสนาะ เป็นการอ่านที่มีท�ำนองเสียงสูง ต�่ำ สั้น ยาว
หนัก เบา มีการเอื้อนเสียง และเน้นสัมผัสชัดเจน ท�ำให้เกิดความไพเราะ ถ้า
ยิ่งใช้น�้ำเสียงที่เหมาะสมกับเนื้อความตามบทต่างๆ เช่น ชมความงาม ตัดพ้อ
คร�่ำครวญ โกรธเกรี้ยว ฯลฯ ก็จะท�ำให้เกิดอารมณ์คล้อยตามมากยิ่งขึ้น

10 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 11


การอ่านร้อยกรองควรปฏิบัติ ดังนี้ การตั้งค�ำถาม และการตอบค�ำถาม
๑. รูล้ กั ษณะและจังหวะการอ่านของบทร้อยกรองแต่ละชนิด เช่น กลอนสี่
การตั้งค�ำถาม
กลอนแปด กาพย์ยานี ๑๑ โคลง ฉันท์
การตัง้ ค�ำถามเป็นการพูดหรือเขียนสิง่ ทีต่ อ้ งการรูห้ รือสิง่ ทีส่ งสัย ซึง่ สามารถ
ตัวอย่าง ค�ำประพันธ์กลอนแปดหรือกลอนสุภาพ
ตั้งค�ำถามได้จากการอ่าน การฟัง การดู
จากล�ำธาร/สายน้อย/ค่อยรินไหล จากขุนเขา/เนินไพร/ในป่ากว้าง
การตั้งค�ำถามอาจมีวิธีการ ดังนี้
ล�ำธารน้อย/เลาะเรื่อย/มาตามทาง บรรจบกัน/เป็นล�ำราง/ชลาลัย
เป็นแหล่งน�้ำ/อาบกิน/ของสัตว์ป่า เป็นบ้านของ/เหล่าปลา/ได้อาศัย ๑. ก�ำหนดสิ่งที่ต้องการรู้ หรือสิ่งที่สงสัย
เป็นหยาดทิพย์/ชโลมดิน/ถิ่นพฤกษ์ไพร เขียวชอุ่ม/ทั่วไป/ทั้งตาปี ๒. พูดหรือเขียนค�ำถาม เช่น ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน อย่างไร ท�ำไม ฯลฯ
๒. ออกเสียงค�ำให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธี โดยเฉพาะตัว ร ล และ ๓. ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ไม่วกวน ซับซ้อน เพือ่ ให้คำ� ถามมีความชัดเจน
ค�ำควบกล�ำ
้ เพือ่ ไม่ให้ความหมายคลาดเคลือ่ น เช่น ริน เรือ่ ย ล�ำราง ล�ำธาร ๔. ไม่ควรถามหลายเรื่องหรือหลายประเด็น เพราะจะท�ำให้ผู้ตอบลืม
เลาะ ชลาลัย ไพร พฤกษ์ ปลา กว้าง ฯลฯ ค�ำถาม หรือตอบยาวเกินไป หรือไม่ต้องการตอบ
๓. รู้วิธีอ่าน ดังนี้ ตัวอย่าง
๑) เน้นเสียงค�ำทีเ่ ป็นสัมผัสบังคับให้ชดั เจนและต้องทอดเสียงค�ำสัมผัส ใบหม้อข้าวหม้อแกงลิงส่วนมากมีสีแดง อาจเป็นสีแดงเข้ม
ระหว่างบทให้ยาวกว่าปรกติ เน้นเสียงค�ำ เช่น ไหล – ไพร กว้าง – ทาง สีแดงสด หรือมีหลายสี เช่น สีแดงเหลือบเขียว ต้นหม้อข้าวหม้อ-
ทาง – ราง และทอดเสียงค�ำ ชลาลัย - อาศัย แกงลิงเป็นพืชชนิดหนึ่ง มักขึ้นในทุ่งโล่งที่เป็นดินทรายแห้งแล้ง
มีอาหารน้อย พืชชนิดนี้จึงหาทางเพิ่มแหล่งอาหาร โดยล่อแมลง
๒) ออกเสียงให้สงู และดังก้องในค�ำทีม่ เี สียงวรรณยุกต์จตั วา เช่น ไหล
มากินน�้ำหวานบริเวณขอบกระเปาะและฝาปิดซึ่งอยู่ที่ปลายใบ เรา
อาศัย
จึงเรียกต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงว่า “พืชกินสัตว์”
๓) ไม่เอื้อนเสียงค�ำที่มีสระเสียงสั้นและเบา เช่น เลาะ แหล่ง
๔) อ่านเสียงเบาและรวบเสียงค�ำที่มี ๒ พยางค์ในค�ำที่ฉันทลักษณ์ แนวการตั้งค�ำถามจากตัวอย่าง
บังคับให้ออกเสียงเพียง ๑ พยางค์ โดยให้เสียงตกที่พยางค์หลัง เช่น ล�ำราง ๑. ก�ำหนดสิง่ ทีต่ อ้ งการถาม อาจขีดเส้นใต้ขอ้ ความนัน้ เช่น หัวข้อเรือ่ ง
ชโลม ฯลฯ ลักษณะ ประเภท ภูมิประเทศ และแหล่งอาหาร ฯลฯ
๕) ต้องเอื้อนเสียงและทอดจังหวะให้ช้าลงเมื่อจบบท ๒. ตั้งค�ำถาม ดังนี้
๔. เข้าใจความหมายของค�ำศัพท์ เพื่อถอดความและจับใจความส�ำคัญได้ ๑) ใบหม้อข้าวหม้อแกงลิงมีสีอะไรบ้าง
จากตัวอย่างสามารถถอดความได้ว่า ๒) ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงมักขึ้นในที่ใด
จากล�ำธารสายน้อยที่ไหลเลาะเรื่อยผ่านภูเขาป่ากว้าง มารวมกันเป็นสายน�้ำ ๓) ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงหาอาหารอย่างไร เพราะเหตุใด
เป็นที่อาบกินของสัตว์ป่า แหล่งที่อยู่อาศัยของปลา ท�ำให้ผืนดินและผืนป่าเขียว
ชุ่มชื่นทั้งปี

12 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 13


การตอบค�ำถาม
การตอบค�ำถามอาจมีวิธีการ ดังนี้
๑. อ่านค�ำถามให้เข้าใจว่าถามเรื่องอะไร มีกี่ประเด็น กิจกรรม
๒. ตอบให้ตรงกับประเด็นทีถ่ าม ไม่อ้อมค้อม วกวนหรือตอบยาวเกินไป
๓. ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย เรียบเรียงด้วยภาษาของตนเอง ไม่ใช้คำ� ศัพท์หรือ ชวนกันคิด ชวนกันตอบ
ค�ำภาษาต่างประเทศโดยไม่จ�ำเป็น ๑. ในท้องถิ่นของนักเรียนมีแหล่งน�้ำอะไรบ้าง
๔. อาจยกตัวอย่างประกอบเพื่อความชัดเจน ๒. แหล่งน�ำ้ ทีม่ อี ยูม่ ปี ระโยชน์ตอ่ คน สัตว์ และพืชในชุมชนอย่างไร
จากตัวอย่างข้างต้นตอบค�ำถามได้ ดังนี้ ๓. นักเรียนมีวิธีการใช้น�้ำอย่างประหยัด หรือวิธีการอนุรักษ์น�้ำ
๑) ใบหม้อข้าวหม้อแกงลิงส่วนใหญ่มสี แี ดงทัง้ สีแดงสด และสีแดงเข้ม อย่างไร
บางชนิดมีสีแดงเหลือบเขียว ๔. ถ้ามีการประกาศเตือนว่าจะเกิดอุทกภัย น�้ำป่าไหลหลาก ดิน
๒) ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงมักขึ้นในทุ่งโล่งเป็นดินทรายแห้งแล้ง
โคลนถล่มในท้องที่ นักเรียนจะเตรียมตัวล่วงหน้าได้อย่างไรบ้าง
๓) สาเหตุทเี่ รียกต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงว่า “พืชกินสัตว์” เพราะกิน
แมลงเป็นอาหารด้วยการล่อมาเกาะขอบใบ ๕. หน่วยงานใดบ้างที่ให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความ
เดือดร้อนจากภัยแล้งและอุทกภัย
ช่วยกันอภิปราย
๑. “น�้ำข้นขุ่นครุ่นคิดผิดเพราะใคร” นักเรียนคิดว่าสายน�้ำที่เคย
ใสสะอาดกลายเป็นน�้ำที่ขุ่นสกปรกเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
๒. “น�้ำเหนือบ่าดินทลายเซาะแนวฝั่ง” มีผลเสียหายต่อคนไทย
มาแล้วอย่างไรบ้าง
ชวนกันหาความหมาย
หาความหมายของค�ำต่อไปนี้
ล�ำธาร ไพร ชลาลัย พฤกษ์ นที วารี
ธารา ชลาสินธุ์ พสุธา บุปผชาติ

14 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ สายน�้ำ สายชีวิต 15


ชวนกันทาย
แบ่งกลุม่ กันศึกษาชือ่ แม่นำ�้ และชือ่ จังหวัดแล้วน�ำมาทายเพือ่ นในห้อง
เช่น แม่น�้ำตาปี อยู่ที่จังหวัดใด............................ (สุราษฎร์ธานี)
ชวนกันท�ำ
๑. น�ำภาพเกีย่ วกับแหล่งน�ำ้ และเขือ่ นจากวารสาร ปฏิทนิ หรือจาก
แหล่งอื่น ๆ น�ำมาจัดป้ายนิเทศ
๒. เขียนบทร้อยกรองชมสถานทีท่ มี่ แี หล่งน�ำ้ ทีช่ นื่ ชอบแล้วน�ำผลงาน
มาอ่านให้เพื่อนฟัง

ชวนกันหา
ค้นหาส�ำนวน สุภาษิตทีม่ คี ำ� ว่าน�ำ้ ให้ได้มากทีส่ ดุ เช่น น�ำ้ ลดตอผุด
น�้ำนิ่งไหลลึก
ชวนกันอ่าน ชวนกันตีความ

จัดประกวดการอ่านบทประพันธ์ทงั้ แบบธรรมดา และท�ำนองเสนาะ
แล้วช่วยกันถอดความเป็นร้อยแก้ว
ปล่อยน�ำ้ ขุ่นทิ้งไปไม่เฝ้าคิด

เปิดน�ำ้ ใสสร้างมิตรสมัครสมาน
ไมตรีจิตปกป้องผองภัยพาล
สุขสราญเมตตาธรรมน�ำจิตใจ
ชวนกันเขียน
แบ่งกลุม่ นักเรียนน�ำนิทานทีม่ สี ถานทีเ่ กีย่ วกับแหล่งน�ำ้ มาเขียนแล้ว
ตั้งค�ำถาม ตอบค�ำถาม ตามตัวอย่างใน อธิบายเพิ่ม เติมความรู้

16 ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

You might also like