Academia.eduAcademia.edu

Power Amplifier Class D

Power Amplifier Class D Class D ไม่ได้ย่อมาจากคำว่า DIGITAL อินพุทถูกแปลงเป็นออดิโอ เวฟฟอร์ม ไบนารี 2 สเตท ความแตกต่างเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ CLASS D ออกแบบให้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ แทนที่จะต้องเสียกำลังไปในทรานซิสเตอร์ เอาท์พุทก็จะถูกไม่เปิดตลอด ไม่มีโวลเทจเสีย ก็ปิดตลอด ส่งผลให้ประสิทธิภาพเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ดังนั้นอินพุทออดิโอถูกแปลงเป็น PWM (PULSE WIDULATED) ร่องสีเหลืองที่อยู่ขางใต้คือ เอาท์พุทของแอมพ์ ร่องสีฟ้าคือ เวฟฟอร์ม PWM เวฟฟอร์มสีฟ้าจะถูกป้อนให้กับฟิลเตอร์เอาท์พุท ซึ่งให้ผลเป็นเวฟฟอร์มเอาท์พุทสีเหลือง สังเกตว่า เอาท์พุทจะดูเหมือนอะไรบางอย่างที่เสียไปสัญญาณที่เสีย และเสียงสวิทชิงทั้งหมดไม่สามารถเอาออกไปได้ และจะเห็นผลได้ที่นี่ เพราะขั้นตอนการแปลงสัญญาณอินพุทไปเป็น pwn และแปลงกลับไปเป็นแอนาลอก ทำให้เกิดการเสียของสัญญาณไป ฟีดแบคทั่วไปก็เหมือนกับที่ใช้ในการออกแบบแอมพ์ CLASS "AB" เพื่อลดการเสียของสัญญาณ มอสเฟทเป็นทางเลือกเดียวสำหรับการออกแบบ CLASS "D" ซึ่งการออกแบบส่วนใหญ่จะมีประโยชน์แต่กับเพียงเบสส์แอมพ์ เมื่อมันไม่สามารถสวิทช์ได้เร็วเพียงพอ กับการผลิตความถี่สูงอีกครั้ง การออกแบบ CLASS "D" ฟลูล์เรนจ์คุณภาพสูงยังคงหาได้ ในเครื่องเสียงระดับมืออาชีพ แต่มันจะซับซ้อนกับเอาท์พุทมัลทิเฟล CLASS D เป็นเพาเวอร์แอมป์ที่มีกำลังขับสูง แน้นพลังอย่างเดียว ส่วนมากผลิตออกมาเป็นแบบโนบลอก 1 แชลแนล เหมาะสำหรับขับซับวูเฟอร์ และสามารถโหลดเล่นได้ที่ความต้านทานต่ำสุดที่ 1หรือ 0.5 โอห์ม (ขึ้นอยุ่กับแต่ละยี่ห้อ)ซึ่งหากโหลดความต้านทานได้น้อย กำลังวัตต์ก็จะเพิ่มมากขึ้น POWER AMPLIFIER CLASS D CLASS D เป็นเพาเวอร์แอมป์ที่มีกำลังขับสูง แน้นพลังอย่างเดียว ส่วนมากผลิตออกมาเป็นแบบโนบลอก 1 แชลแนล เหมาะสำหรับขับซับวูเฟอร์ และสามารถโหลดเล่นได้ที่ความต้านทานต่ำสุดที่ 1หรือ 0.5 โอห์ม (ขึ้นอยุ่กับแต่ละยี่ห้อ) ซึ่งหากโหลดความต้านทานได้น้อย กำลังวัตต์ก็จะเพิ่มมากขึ้น Class D ไม่ได้ย่อมาจากคำว่า DIGITAL อินพุทถูกแปลงเป็นออดิโอ เวฟฟอร์ม ไบนารี 2 สเตท ความแตกต่างเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ CLASS D ออกแบบให้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ แทนที่จะต้องเสียกำลังไปในทรานซิสเตอร์ เอาท์พุทก็จะถูกไม่เปิดตลอด ไม่มีโวลเทจเสีย ก็ปิดตลอด ส่งผลให้ประสิทธิภาพเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ดังนั้นอินพุทออดิโอถูกแปลงเป็น PWM (PULSE WIDULATED) ร่องสีเหลืองที่อยู่ขางใต้คือ เอาท์พุทของแอมพ์ ร่องสีฟ้าคือ เวฟฟอร์ม PWM เวฟฟอร์มสีฟ้าจะถูกป้อนให้กับฟิลเตอร์เอาท์พุท ซึ่งให้ผลเป็นเวฟฟอร์มเอาท์พุทสีเหลือง สังเกตว่า เอาท์พุทจะดูเหมือนอะไรบางอย่างที่เสียไปสัญญาณที่เสีย และเสียงสวิทชิงทั้งหมดไม่สามารถเอาออกไปได้ และจะเห็นผลได้ที่นี่ เพราะขั้นตอนการแปลงสัญญาณอินพุทไปเป็น pwn และแปลงกลับไปเป็นแอนาลอก ทำให้เกิดการเสียของสัญญาณไป ฟีดแบคทั่วไปก็เหมือนกับที่ใช้ในการออกแบบแอมพ์ CLASS AB เพื่อลดการเสียของสัญญาณ มอสเฟทเป็นทางเลือกเดียวสำหรับการออกแบบ CLASS D ซึ่งการออกแบบส่วนใหญ่จะมีประโยชน์แต่กับเพียงเบสส์แอมพ์ เมื่อมันไม่สามารถสวิทช์ได้เร็วเพียงพอ กับการผลิตความถี่สูงอีกครั้ง การออกแบบ CLASS D ฟลูล์เรนจ์คุณภาพสูงยังคงหาได้ ในเครื่องเสียงระดับมืออาชีพ แต่มันจะซับซ้อนกับเอาท์พุทมัลทิเฟล นายกฤษฏา สิทธิวัง 540510362