ข้ามไปเนื้อหา

โกลอมเรซอ แอซฮอรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โกลอมเรซอ แอซฮอรี
นายกรัฐมนตรีอิหร่าน คนที่ 44
ดำรงตำแหน่ง
6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 – 4 มกราคม พ.ศ. 2522 (0 ปี 207 วัน)
กษัตริย์พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี
ก่อนหน้าแจอ์แฟร์ แชรีฟเอมอมี
ถัดไปชาปัวร์ บัคติฮาร์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455
ชีรอซ อิหร่าน
เสียชีวิต5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 (89 ปี)
เวอร์จิเนีย สหรัฐ
ศิษย์เก่าวิทยาลัยการสงครามแห่งชาติ
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
สังกัด กองทัพจักรวรรดิอิหร่าน
ประจำการ2478–2522
ยศ พลเอก

โกลอมเรซอ แอซฮอรี (เปอร์เซีย: غلامرضا ازهاری; 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 – 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544) เป็นทหารชาวอิหร่านซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอิหร่านระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ถึงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2522 ในช่วงการปฏิวัติอิหร่าน[1][2]

เขาเกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2455 (หรือ พ.ศ. 2460)[3] เขาสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยการสงครามของอิหร่าน เขายังได้รับการฝึกฝนที่วิทยาลัยการสงครามแห่งชาติในวอชิงตัน ดี.ซี.[3] ต่อมาเขาเป็นผู้บัญชาการทหารในอิหร่านใน พ.ศ. 2514 ต่อมาเขาเป็นนายกรัฐมนตรีในวันที่ 6 พฤศจิกายนถึงสิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2521[4][5][6]

คณะรัฐมนตรี

[แก้]

คณะรัฐมนตรีของเขาประกอบด้วยสมาชิกเก้าคน ได้แก่[7][8]

  • พลเอก โกลอมแอลี โอเวย์ซี (รัฐมนตรีกระทรวงแรงงานและกิจการสังคม, รักษาการ)[2]
  • พลโท นอเซร์ โมแฆดแดม (รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน)
  • พลเอก แอบบอส แกเรบอฆี (รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย)
  • พลโท แอโบลแฮแซน แซออแดตแมนด์ (รัฐมนตรีกระทรวงการเคหะ)
  • พลเอก โกลอมเรซอ แอซฮอรี
  • พลเอก เรซอ แอซีมี (รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม)
  • แอมีร์โฆสโรว์ แอฟชอร์ (รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ)
  • โมแฮมแมดเรซอ แอมีน (รัฐมนตรีกระทรวงเหมืองแร่และอุตสาหกรรม)
  • แครีม โมอ์แทแมดี (รัฐมนตรีกระทรวงไปรษณีย์โทรเลขและโทรคมนาคม)

อย่างไรก็ตาม มีรายงานด้วยว่ารัฐบาลมี 11 คน และ 6 คนเป็นนายทหาร[9]

อ้างอิง

[แก้]
  1. กองบก. (2019-02-14). "ไทม์ไลน์สำคัญเหตุการณ์ปฏิวัติอิสลามอิหร่าน". เดอะพับลิกโพสต์.
  2. 2.0 2.1 มะลูลีม, จรัญ (2019-04-10). "จรัญ มะลูลีม : สัญญาณระบอบชาฮ์ล่ม เปิดประตูปฏิวัติอิหร่าน". มติชนสุดสัปดาห์.
  3. 3.0 3.1 "Index At-Az". rulers.org.
  4. Moaddel, Mansoor (1994-08-12). Class, Politics, and Ideology in the Iranian Revolution (ภาษาอังกฤษ). Columbia University Press. ISBN 978-0-231-07867-2.
  5. Nikazmerad, Nicholas M. (1980-03-12). "A Chronological Survey of the Iranian Revolution". Iranian Studies (ภาษาอังกฤษ). 13 (1–4): 327–368. doi:10.1080/00210868008701575. ISSN 0021-0862.
  6. "The Day - Google News Archive Search". news.google.com.
  7. "PREMIERSHIP: General Gholam Reza Azhari meets the Foreign Press (1978) | Iranian.com". iranian.com.
  8. Zabir, Sepehr (2012-04-27). The Iranian Military in Revolution and War (RLE Iran D) (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. ISBN 978-1-136-81270-5.
  9. Amuzegar, Jahangir (1991-01-01). Dynamics of the Iranian Revolution: The Pahlavis' Triumph and Tragedy (ภาษาอังกฤษ). SUNY Press. ISBN 978-0-7914-0731-8.