ข้ามไปเนื้อหา

แตงโม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แตงโม
แตงโมที่ผ่าแล้ว
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: โรสิด
Rosids
อันดับ: อันดับแตง
Cucurbitales
วงศ์: วงศ์แตง
Cucurbitaceae
สกุล: Citrullus
Citrullus
(Thunb.) Matsum. & Nakai
สปีชีส์: Citrullus lanatus
ชื่อทวินาม
Citrullus lanatus
(Thunb.) Matsum. & Nakai
ชื่อพ้อง[1]
รายการ
    • Anguria citrullus Mill.
    • Citrullus amarus Schrad.
    • Citrullus anguria (Duchesne) H.Hara
    • Citrullus aquosus Schur
    • Citrullus battich Forssk.
    • Citrullus caffer Schrad.
    • Citrullus caffrorum Schrad.
    • Citrullus chodospermus Falc. & Dunal
    • Citrullus citrullus H.Karst.
    • Citrullus citrullus Small
    • Citrullus edulis Spach
    • Citrullus edulis Pangalo nom. illeg.
    • Citrullus mucosospermus (Fursa) Fursa
    • Citrullus pasteca Sageret
    • Citrullus vulgaris Schrad.
    • Colocynthis amarissima Schrad. nom. inval.
    • Colocynthis amarissima Schltdl.
    • Colocynthis citrullus (L.) Kuntze
    • Colocynthis citrullus Fritsch
    • Cucumis amarissimus Schrad.
    • Cucumis citrullus (L.) Ser.
    • Cucumis dissectus Decne.
    • Cucumis edulis Steud. nom. inval.
    • Cucumis laciniosus Eckl. ex Steud.
    • Cucumis laciniosus Eckl. ex Schrad.
    • Cucumis vulgaris (Schrad.) E.H.L.Krause
    • Cucurbita anguria Duchesne
    • Cucurbita caffra Eckl. & Zeyh.
    • Cucurbita citrullus L.
    • Cucurbita gigantea Salisb.
    • Cucurbita pinnatifida Schrank
    • Momordica lanata Thunb.

แตงโม[a] (ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrullus lanatus) เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก จัดเป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่[2]

แตงโมมีถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา[3] ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว[4] ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส

พบกรดอะมิโน citrulline เป็นครั้งแรกในแตงโม[5] โดยแตงโมมี citrulline มาก ถ้ารับประทานในปริมาณหลายกิโลกรัมจะตรวจพบในเลือดของผู้รัประทานได้ ซึ่งจะเข้าไปรบกวนวัฏจักรยูเรีย[6]

แตงโมดิบ (ส่วนที่กินได้)
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน127 กิโลจูล (30 กิโลแคลอรี)
7.55 g
น้ำตาล6.2 g
ใยอาหาร0.4 g
0.15 g
0.61 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(4%)
28 μg
ไทอามีน (บี1)
(3%)
0.033 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(2%)
0.021 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(1%)
0.178 มก.
(4%)
0.221 มก.
วิตามินบี6
(3%)
0.045 มก.
โฟเลต (บี9)
(1%)
3 μg
วิตามินซี
(10%)
8.1 มก.
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(1%)
7 มก.
เหล็ก
(2%)
0.24 มก.
แมกนีเซียม
(3%)
10 มก.
ฟอสฟอรัส
(2%)
11 มก.
โพแทสเซียม
(2%)
112 มก.
สังกะสี
(1%)
0.10 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ91.45 g
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน

อ้างอิง

[แก้]
  • นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงโม ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 77 - 80
  1. "The Plant List: A Working List of All Plant Species". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-04. สืบค้นเมื่อ April 16, 2014.
  2. "แตงโม".องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน สืบค้นเมื่อ 2567-06-17
  3. North Carolina State University: Watermelon biogeography.
  4. Daniel Zohary and Maria Hopf, Domestication of Plants in the Old World, third edition (Oxford: University Press, 2000), p. 193.
  5. Wada, M. (1930). "Über Citrullin, eine neue Aminosäure im Presssaft der Wassermelone, Citrullus vulgaris Schrad". Biochem. Zeit. 224: 420.
  6. H. Mandel, N. Levy, S. Izkovitch, S. H. Korman (2005). "Elevated plasma citrulline and arginine due to consumption of Citrullus vulgaris (watermelon)". Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft. 28 (4): 467–472. doi:10.1007/s10545-005-0467-1. PMID 15902549.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]