เวเพอร์เวฟ
เวเพอร์เวฟ | |
---|---|
ภาพเวเพอร์เวฟกับวิกิพีเดียในธีม | |
ศัพทมูลวิทยา | เวเปอร์แวร์ |
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ต้นยุค 2010, อินเทอร์เน็ต[3][10] |
เครื่องบรรเลงสามัญ | |
รูปแบบอนุพันธุ์ | |
แนวย่อย | |
แนวประสาน | |
หัวข้ออื่น ๆ | |
เวเพอร์เวฟ (อังกฤษ: vaporwave หรือ vapourwave)[22] เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์[2] และ อินเทอร์เน็ตมีม[23] ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นยุค 2010[2] โดยแนวดนตรีมักจะรวมความหลงใหลจากเพลงยุค 1980 และ 1990 เช่น ดนตรีเลานจ์ สมูธแจ๊ส อาร์แอนด์บี และ ดนตรีลิฟต์[4][3] ที่ใช้แซมเพิลเพลงหรือใช้เทคนิคผ่านการตัดต่อเสียงส่วนท่อนเพลงช้า ๆ มาใส่ รวมทั้งการเพิ่มเอฟเฟกต์อื่น ๆ[6][4] วัฒนธรรมย่อยที่เกี่ยวข้องกับเวเพอร์เวฟ มักจะมีการเสียดสีกับการบริโภคแบบทุนนิยมและวัฒนธรรมสมัยนิยม รวมลักษณะที่เกี่ยวกับ การนึกถึงความหลัง และ ลัทธิเหนือจริง ที่ผูกพันกับ ความบันเทิงสมัยนิยม เทคโนโลยี และ โฆษณาในยุค 1980 และ 1990 นอกจากนี้ยังรวมภาพออกแบบเว็บไซต์อินเทอร์เน็ตในช่วงปลายยุค 1990 รวมทั้งการใช้ ศิลปะแบบกลิตซ์ และ ไซเบอร์พังก์[3]
เวเพอร์เวฟมีกำเนิดมาจากการทดลองดนตรีฮิปนากอจิกป็อป มีโปรดิวเซอร์บุกเบิก เช่น เจมส์ เฟอร์ราโร, แดเนียล โลพาทิน และเวกทรอยด์ (Vektroid)[24] หลังจากที่มีการปล่อยอัลบั้ม Floral Shoppe (ธันวาคม ศ.ค. 2011) จนกลายเป็นแรงบันดาลใจของโปรดิวเซอร์ในโลกออนไลน์ที่ทำแนวเพลงนี้ แล้วได้เพิ่มผู้ฟังบนเว็บไซต์ Last.fm, Reddit, และ 4chan และยังเข้าถึงที่ใหม่ นอกจากนี้มีหลายนามแฝงที่ใช้เว็บ Bandcamp เพื่อการจำหน่าย[9] การเปิดกว้างของเวเพอร์เวฟ ในปี 2012 นำไปสู่การเกิดแยกเป็นแนวย่อย เช่น futurefunk, mallsoft และ hardvapour
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Ward, Christian (January 29, 2014). "Vaporwave: Soundtrack to Austerity". Stylus.com. สืบค้นเมื่อ February 8, 2014.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Tanner 2016, p. 3.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 Lhooq, Michelle (December 27, 2013). "Is Vaporwave The Next Seapunk?". Vice. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-26. สืบค้นเมื่อ April 10, 2014.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 Han, Sean Francis; Peters, Daniel (May 18, 2016). "Vaporwave: subversive dream music for the post-Internet age". Bandwagon. สืบค้นเมื่อ January 7, 2017.
- ↑ Aux, Staff. "AUX". Aux. Aux Music Network. สืบค้นเมื่อ January 2, 2016.
- ↑ 6.0 6.1 Gahil, Leor. "nfinity Frequencies: Computer Death". Chicago Reader. สืบค้นเมื่อ 6 April 2017.
- ↑ Trainer 2016, p. 419.
- ↑ Bowe, Miles. "Band To Watch: Saint Pepsi". Stereogum. สืบค้นเมื่อ 26 June 2016.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 Harper, Adam (ธันวาคม 7, 2012). "Comment: Vaporwave and the pop-art of the virtual plaza". Dummy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ เมษายน 1, 2015. สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 8, 2014.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 Harper, Adam (December 5, 2013). "Pattern Recognition Vol. 8.5: The Year in Vaporwave". Electronic Beats. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ Feb 23, 2014. สืบค้นเมื่อ February 8, 2014.
- ↑ 11.0 11.1 Schilling, Dave (September 18, 2015). "Songs of the Week: Skylar Spence, Vampire Weekend's Chris Baio, and the Return of Chillwave". Grantland.
- ↑ Lozano, Kevin (June 14, 2016). "What the Hell Is Simpsonwave?". Pitchfork Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 22, 2016. สืบค้นเมื่อ June 22, 2016.
- ↑ Minor, Jordan (มิถุนายน 3, 2016). "Drown yourself beneath the vaporwave". Geek.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มิถุนายน 9, 2016. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 12, 2016.
- ↑ Blevins, Joe. ""Simpsonwave" is the most wack, tripped-out Simpsons meme ever". The A.V. Club. The Onion. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 3, 2016. สืบค้นเมื่อ June 4, 2016.
- ↑ 15.0 15.1 15.2 15.3 15.4 15.5 Arcand, Rob (กรกฎาคม 12, 2016). "Inside Hardvapour, an Aggressive, Wry Rebellion Against Vaporwave". Thump. Vice Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 31, 2016. สืบค้นเมื่อ มกราคม 30, 2019.
- ↑ Vaporwave, the Millennial legacy of Daniel Lopatin - Revista cultural el Hype
- ↑ Vaporwave, the Millennial legacy of Daniel Lopatin - Revista cultural el Hype
- ↑ Vaporwave, the Millennial legacy of Daniel Lopatin - Revista cultural el Hype
- ↑ 19.0 19.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อEsquire2016
- ↑ "§E▲ ▓F D▓G§ - WEAK WAVES EP - Sunbleach". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-24. สืบค้นเมื่อ 2017-04-25.
- ↑ 21.0 21.1 Bullock, Penn; Kerry, Eli (January 30, 2017). "Trumpwave and Fashwave Are Just the Latest Disturbing Examples of the Far-Right Appropriating Electronic Music". Vice. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 6, 2017. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
- ↑ "Near-death experiences and vapourwave - The Wireless". The Wireless NZ. January 14, 2016.
- ↑ Byebstaff (December 9, 2016). "The Top 10 Most Important Music Memes of 2016". Electronic Beats.; Minor, Jordan (June 3, 2016). "Drown Yourself Beneath the Vaporwave". Geek.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-01. สืบค้นเมื่อ 2017-04-25.; Shorin, Toby (March 14, 2017). "100% Electronica Is Making Pop Anthems of the Future". The Hundreds.
- ↑ Britton, Luke Morgan (September 26, 2016). "Music Genres Are A Joke That You're Not In On". Vice.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "nb" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="nb"/>
ที่สอดคล้องกัน