เจแปนนิส ซูเปอร์คัพ
หน้าตา
ก่อตั้ง | 1977 (เริ่มต้น) 1994 (รูปแบบใหม่) |
---|---|
ภูมิภาค | ญี่ปุ่น |
จำนวนทีม | 2 |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | อูราวะ เรดไดมอนส์ (สมัยที่ 5) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | คะชิมะแอนต์เลอส์ (6 สมัย) |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
เจแปนนิส ซูเปอร์คัพ หรือ ฟุจิซีร็อกซ์ ซูเปอร์คัพ (ญี่ปุ่น: 富士ゼロックススーパーカップ, อังกฤษ: Fuji Xerox Super Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีของญี่ปุ่น จัดโดยเจลีกและสมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น (JFA) โดยจะเป็นการพบกันระหว่างแชมป์เจลีกกับแชมป์ถ้วยพระจักรพรรดิในปีก่อนหน้า
นับตั้งแต่ปี 1994 ฟุจิซีร็อกซ์เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักของการแข่งขัน จึงได้มีชื่อว่า ฟุจิซีร็อกซ์ ซูเปอร์คัพ ตั้งแต่นั้นมา โดยจัดการแข่งขันราวๆเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ก่อนที่ฟุตบอลลีกในฤดูกาลใหม่จะเริ่มต้นขึ้น
ผลการแข่งขัน
[แก้]ปี | แชมป์เจลีก | ผลการแข่งขัน | แชมป์ถ้วยพระจักรพรรดิ | วันที่ | Venue |
---|---|---|---|---|---|
1994 | เวอร์ดี้ คะวะซะกิ | โยะโกะฮะมะ ฟลูเกลส์ | มีนาคม 5, 1994 | สนามกีฬาโอลิมปิก (โตเกียว) | |
1995 | เวอร์ดี้ คะวะซะกิ | (4–2) |
เบลมาเร ฮิระสึกะ | มีนาคม 11, 1995 | |
1996 | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | นาโงยะ แกรมปัส | มีนาคม 9, 1996 | ||
1997 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | เวอร์ดี้ คะวะซะกิ | มีนาคม 5, 1997 | ||
1998 | จูบิโล อิวะตะ | คะชิมะแอนต์เลอส์ | มีนาคม 14, 1998 | ||
1999 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | ชิมิซุ เอส-พัลส์† | กุมภาพันธ์ 27, 1999 | ||
2000 | จูบิโล อิวะตะ | (3–2) |
นาโงยะ แกรมปัส | มีนาคม 4, 2000 | |
2001 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | ชิมิซุ เอส-พัลส์‡ | มีนาคม 3, 2001 | ||
2002 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | (4–5) |
ชิมิซุ เอส-พัลส์ | กุมภาพันธ์ 23, 2002 | |
2003 | จูบิโล อิวะตะ | เคียวโตะ เพอร์เพิล ซังงะ | มีนาคม 1, 2003 | ||
2004 | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | (2–4) |
จูบิโล อิวะตะ | มีนาคม 6, 2004 | |
2005 | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | (4–5) |
โตเกียว เวอร์ดี้ 1969 | กุมภาพันธ์ 26, 2005 | สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ |
2006 | กัมบะ โอซะกะ | อูราวะ เรดไดมอนส์ | กุมภาพันธ์ 25, 2006 | สนามกีฬาโอลิมปิก (โตเกียว) | |
2007 | อูราวะ เรดไดมอนส์ | กัมบะ โอซะกะ‡ | กุมภาพันธ์ 24, 2007 | ||
2008 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | (3–4) |
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ‡ | มีนาคม 1, 2008 | |
2009 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | กัมบะ โอซะกะ | กุมภาพันธ์ 28, 2009 | ||
2010 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | (5–3) |
กัมบะ โอซะกะ | กุมภาพันธ์ 27, 2010 | |
2011 | นาโงยะ แกรมปัส | (3–1) |
คะชิมะแอนต์เลอส์ | กุมภาพันธ์ 26, 2011 | สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ |
2012 | คะชิวะ เรย์โซล | เอฟซี โตเกียว | มีนาคม 3, 2012 | สนามกีฬาโอลิมปิก (โตเกียว) | |
2013 | ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ | คะชิวะ เรย์โซล | กุมภาพันธ์ 23, 2013 | ||
2014 | ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | กุมภาพันธ์ 22, 2014 | ||
2015 | กัมบะ โอซะกะ | อูราวะ เรดไดมอนส์‡ | กุมภาพันธ์ 28, 2015 | สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ | |
2016 | ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ | กัมบะ โอซะกะ | กุมภาพันธ์ 20, 2016 | ||
2017 | คะชิมะแอนต์เลอส์ | อูราวะ เรดไดมอนส์ | กุมภาพันธ์ 18, 2017 | ||
2018 | คาวาซากิ ฟรอนตาเล | เซเรซโซ โอซากะ | กุมภาพันธ์ 10, 2018 | สนามกีฬาไซตามะ | |
2019 | คาวาซากิ ฟรอนตาเล | อูราวะ เรดไดมอนส์ | กุมภาพันธ์ 16, 2019 | ||
2020 | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | (2–3) |
วิสเซล โคเบะ | กุมภาพันธ์ 8, 2020 | |
2021 | คาวาซากิ ฟรอนตาเล | กัมบะ โอซากะ† | กุมภาพันธ์ 20, 2021 | ||
2022 | คาวาซากิ ฟรอนตาเล | อูราวะ เรดไดมอนส์ | กุมภาพันธ์ 12, 2022 | สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ | |
2023 | โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส | 2–1
|
เวนท์ฟอเรท โคฟุ | กุมภาพันธ์ 11, 2023 | สนามกีฬาโอลิมปิก (โตเกียว) |
† เนื่องจากแชมป์ถ้วยพระจักรพรรดิ คือ ฟลูเกลส์ ยุบทีม รองแชมป์คือ ชิมิซุ เอส-พัลส์ จึงได้แข่งขันแทน
‡ แชมป์เจลีกและถ้วยพระจักรพรรดิคือทีมเดียวกัน จึงนำรองแชมป์ถ้วยพระจักรพรรดิมาทำการแข่งขัน