เขาอากองกากัว
หน้าตา
เขาอากองกากัว | |
---|---|
ภาพภูเขาอากองกากัวจากทิศใต้ | |
จุดสูงสุด | |
ความสูง เหนือระดับน้ำทะเล | 6,960.8 เมตร (22,837 ฟุต) [1] |
ความสูง ส่วนยื่นจากฐาน | 6,960.8 เมตร (22,837 ฟุต) [1] Ranked 2nd |
รายชื่อ | ยอดเขาสูงสุดในแต่ละทวีป รายการจุดสูงสุดและต่ำสุดเรียงตามประเทศ Ultra prominent peak |
พิกัด | 32°39′11.51″S 070°0′40.32″W / 32.6531972°S 70.0112000°W GPS handheld http://www.andes-specialists.com/andean-mountains-5000/ |
ชื่อ | |
การออกเสียง | ภาษาสเปน: [akoŋˈkaɣwa] |
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ | |
ที่ตั้ง | รัฐเมนโดซา, อาร์เจนตินา |
เทือกเขา | Principal Cordillera, เทือกเขาแอนดีส |
การพิชิต | |
พิชิตครั้งแรก | ปี 2440 โดย Matthias Zurbriggen (first recorded ascent)[2] |
เส้นทางง่ายสุด | Scramble (ตะวันตกเฉียงเหนือ) |
อากองกากัว (สเปน: Aconcagua) ตั้งอยู่ในประเทศอาร์เจนตินา เป็นยอดเขาที่ตั้งอยู่บนเทือกเขาแอนดีสที่มีแนวยาวที่สุดในโลก ใกล้เขตติดต่อพรมแดนประเทศชิลี มีความสูง 6,959 เมตร ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้และเคยเป็นแหล่งที่อยู่ของชนเผ่าต่าง ๆ แล้ว ยังมีเมืองลอยฟ้าอันเป็นโบราณสถานสำคัญอีกด้วย
คนไทยที่สามารถพิชิตยอดเขาอากองกากัวสำเร็จเป็นคนแรกคือ วิทิตนันท์ โรจนพานิช ส่วนหญิงไทยที่สามารถพิชิตยอดเขาอากองกากัวสำเร็จเป็นคนแรกคือ นภัสพร ชำนาญสิทธิ์ ซึ่งสามารถพิชิตยอดเขาได้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2560[3]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Informe científico que estudia el Aconcagua: el Coloso de América mide 6.960,8 metros" [Scientific Report on Aconcagua, the Colossus of America measures 6960,8 m] (ภาษาสเปน). Universidad Nacional de Cuyo. 4 September 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2012. สืบค้นเมื่อ December 3, 2017.
- ↑ Secor, R.J. (1994). Aconcagua: A Climbing Guide. The Mountaineers. p. 13. ISBN 978-0-89886-406-9.
There is no definitive proof that the ancient Incas actually climbed to the summit of the White Sentinel [Aconcagua], but there is considerable evidence that they did climb very high on the mountain. Signs of Inca ascents have been found on summits throughout the Andes, thus far the highest atop Llullaillaco, a 6,721-เมตร (22,051-ฟุต) mountain astride the Chilean-Argentine border in the Atacama region. On Aconcagua, the skeleton of a guanaco was found in 1947 along the ridge connecting the North Summit with the South Summit. It seems doubtful that a guanaco would climb that high on the mountain on its own. Furthermore, an Inca mummy has been found at 5,400 m (17,700 ft) on the south west ridge of Aconcagua, near Cerro Piramidal
- ↑ https://thestandard.co/eem-napassaporn-conquer-7-peaks-from-7-continents/