ข้ามไปเนื้อหา

อีวาเกะเมย์บี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
"อีวาเกะเมย์บี"
ซิงเกิลโดยเอเคบีโฟร์ตีเอต
จากอัลบั้มคามิเกียวกูตาจิ
ด้านเอ
  • "Iiwake Maybe"
ด้านบี
  • "Tobenai Agehachou"
วางจำหน่าย26 สิงหาคม 2552 (2552-08-26)
แนวเพลงเจป็อป
ค่ายเพลงคิงเรคอดส์
ผู้ประพันธ์เพลงยาซูชิ อากิโมโตะ
โปรดิวเซอร์ยาซูชิ อากิโมโตะ
ลำดับซิงเกิลของเอเคบีโฟร์ตีเอต
"นามิดะเซอร์ไพรส์!"
(2552)
"อีวาเกะเมย์บี"
(2552)
"ริเวอร์"
(2552)
มิวสิกวิดีโอ
"Iiwake Maybe" ที่ยูทูบ
"Tobenai Agehachou" ที่ยูทูบ

"อีวาเกะเมย์บี" (ญี่ปุ่น: 言い訳MaybeโรมาจิIiwake Maybe) (อังกฤษ: Maybe an Excuse) เป็นซิงเกิลลำดับที่ 13 ของเอเคบีโฟร์ตีเอต เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยคิงเรคอดส์[1]

รายชื่อเพลง

[แก้]

เวอร์ชันปกติ

[แก้]

เนื้อเพลงทั้งหมดประพันธ์โดยยาซูชิ อากิโมโตะ

ลำดับชื่อเพลงยาว
1."Iiwake Maybe" 
2."Tobenai Agehachou" 
3."Iiwake Maybe (off vocal ver.)" 
4."Tobenai Agehachou (off vocal ver.)" 

เวอร์ชันโรงละคร

[แก้]

เนื้อเพลงทั้งหมดประพันธ์โดยยาซูชิ อากิโมโตะ

ลำดับชื่อเพลงยาว
1."Iiwake Maybe" 
2."Tobenai Agehachou" 
3."Iiwake Maybe (off vocal ver.)" 
4."Tobenai Agehachou (off vocal ver.)" 

สมาชิก

[แก้]

หมายเหตุ: รายชื่อดังต่อไปนี้คือสมาชิกที่ร่วมแสดงในแต่ละเพลง สมาชิกที่ขึ้น "ตัวหนา" หมายถึงตำแหน่งเซ็นเตอร์ของเพลงนั้น ๆ (สถานะทีม ณ วันวางจำหน่ายซิงเกิล)

Iiwake Maybe

[แก้]
ขับร้องและแสดงโดยสมาชิก 21 คน ประกอบด้วย

Tobenai Agehachou

[แก้]
ขับร้องและแสดงโดยสมาชิก 9 คน ประกอบด้วย

ฉบับบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต

[แก้]
"อีวาเกะเมย์บี"
ซิงเกิลโดยบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต
ด้านบี
  • "วันใหม่"
  • "เสียงของใบไม้"
วางจำหน่าย26 กุมภาพันธ์ 2566 (2566-02-26)
แนวเพลงป็อป, เจป๊อป
ค่ายเพลงiAM
ผู้ประพันธ์เพลงยาซูชิ อากิโมโตะ
โปรดิวเซอร์ยาซูชิ อากิโมโตะ
ลำดับซิงเกิลของบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต
"บีลีฟเวอร์ส"
(2565)
"อีวาเกะเมย์บี"
(2566)
"สัญญานะ"
(2566)
มิวสิกวิดีโอ
"อีวาเกะเมย์บี" ที่ยูทูบ

"อีวาเกะเมย์บี" เป็นซิงเกิลที่ 13 ของบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต โดยวงประกาศชื่อเพลงและสมาชิกเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ผ่านรายการถ่ายทอดสด (ตู้ปลา) BNK48 Digital Live Studio: New Year Special 2023[2] และได้มีการเปิดตัวเพลงอย่างเป็นทางการครั้งแรกในงาน BNK48 13th Single “iiwake Maybe” First Performance เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[3]

รายชื่อเพลง

[แก้]
ลำดับชื่อเพลงทำนองคำร้องภาษาไทยยาว
1."อีวาเกะเมย์บี" (เวอร์ชันคัฟเวอร์ของ "AKB48 - Iiwake Maybe")Shunryuuตนุภพ โนทยานนท์4:08
2."วันใหม่" (เวอร์ชันคัฟเวอร์ของ "AKB48 - Shoujotachi yo")Jun Koamiประภพ ชมถาวร4:31
3."เสียงของใบไม้"พงศ์จักร พิษฐานพรตนุภพ โนทยานนท์4:34
4."Iiwake Maybe (off vocal ver.)"  4:08
5."วันใหม่ (off vocal ver.)"  4:31
6."เสียงของใบไม้ (off vocal ver.)"  4:34
ความยาวทั้งหมด:26:26

สมาชิก

[แก้]

หมายเหตุ: รายชื่อดังต่อไปนี้คือสมาชิกที่ร่วมแสดงในแต่ละเพลง สมาชิกที่ขึ้น "ตัวหนา" หมายถึงตำแหน่งเซ็นเตอร์ของเพลงนั้น ๆ (สถานะทีม ณ วันวางจำหน่ายซิงเกิล)

อีวาเกะเมย์บี

[แก้]
ขับร้องและแสดงโดยสมาชิก 16 คน ประกอบด้วย[4]
  • ทีมบีทรี : เฌอปราง อารีย์กุล, นันทภัค กิตติรัตนวิวัฒน์, รชยา ทัพพ์คุณานนต์, มิโอริ โอคุโบะ, ภาริตา ริเริ่มกุล, วีรยา จาง
  • ทีมบีทรี (ควบทีมเอ็นไฟว์) : ปาฏลี ประเสริฐธีระชัย
  • ทีมเอ็นไฟว์ : ณัฐทิชา จันทรวารีเลขา, ณัฐกุล พิมพ์ธงชัยกุล, ชัญญาภัค นุ่มประสพ, สาริศา วรสุนทร, พิทยาภรณ์ เกียรติฐิตินันท์
  • ทีมเอ็นไฟว์ (ควบทีมบีทรี) : นิพพิชฌาน์ พิพิธเดชา
  • เค็งคิวเซย์ : กัลยารัตน์ ปั้นพิพัฒน์, สิริกร นิลกษาปน์, ภัทรา ธีระวาส

อ้างอิง

[แก้]
  1. "言い訳Maybe" (ภาษาญี่ปุ่น). Oricon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-28. สืบค้นเมื่อ 2020-04-28.
  2. "ถึงเวลาแห่งยุคสมัยใหม่! BNK48 ประกาศเพลงเดบิวต์รุ่น 4 พร้อมซิงเกิลที่ 13 "iiwake maybe" แพนเค้กรับตำแหน่งเซ็นเตอร์ครั้งแรก". Mangozero. 2021-12-28. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-28. สืบค้นเมื่อ 2023-02-27.
  3. "แจกความสดใส ใจกลางสวนสาธารณะ! ในงาน BNK48 13th Single "iiwake Maybe" First Performance ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ". Mangozero. 2023-02-26. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-27. สืบค้นเมื่อ 2023-02-27.
  4. "BNK48 ปล่อยซิงเกิลที่ 13 'liwake Maybe' ปล่อยพลังความรักความสดใจ สุดคิ้วท์". Mono29. 2023-02-27. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-27. สืบค้นเมื่อ 2023-02-27.

ดูเพิ่ม

[แก้]