ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต5
คะแนนเสียง196,952 (ภูมิใจไทย)
156,305 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (3)
ประชาชน (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเลมียด หงสประภาส[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอราชคราม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอราชคราม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอบางไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอวังน้อย, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอภาชี และอำเภออุทัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางปะหัน, อำเภอบางบาล, อำเภอลาดบัวหลวง และอำเภอผักไห่
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอวังน้อย, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอภาชี, อำเภออุทัย และอำเภอบางปะหัน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางบาล, อำเภอลาดบัวหลวง และอำเภอผักไห่
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภอบางปะหัน (เฉพาะตำบลขยาย ตำบลขวัญเมือง ตำบลโพธิ์สามต้น ตำบลพุทเลา และตำบลบ้านลี่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก และอำเภอบางปะหัน (ยกเว้นตำบลขยาย ตำบลขวัญเมือง ตำบลโพธิ์สามต้น ตำบลพุทเลา และตำบลบ้านลี่))
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอภาชี และอำเภอบางปะอิน (เฉพาะตำบลบ้านสร้าง ตำบลสามเรือน ตำบลตลิ่งชัน ตำบลคลองจิก และตำบลเชียงรากน้อย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางไทร, อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอบางปะอิน (ยกเว้นตำบลบ้านสร้าง ตำบลสามเรือน ตำบลตลิ่งชัน ตำบลคลองจิก และตำบลเชียงรากน้อย) และอำเภอเสนา (เฉพาะตำบลชายนา ตำบลมารวิชัย ตำบลสามตุ่ม ตำบลดอนทอง และตำบลบ้านหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอบางซ้าย และอำเภอเสนา (ยกเว้นตำบลชายนา ตำบลมารวิชัย ตำบลสามตุ่ม ตำบลดอนทอง และตำบลบ้านหลวง)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอบางปะหัน, อำเภอบางซ้าย, อำเภอเสนา, อำเภอบางบาล และอำเภอผักไห่
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภาชี, อำเภออุทัย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย และอำเภอลาดบัวหลวง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช และอำเภอบ้านแพรก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย และอำเภอภาชี
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางไทร และอำเภอลาดบัวหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเสนา, อำเภอผักไห่, อำเภอบางบาล และอำเภอบางซ้าย
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภออุทัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอภาชี, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช และอำเภอบ้านแพรก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางไทร และ อำเภอวังน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอเสนา, อำเภอผักไห่, อำเภอบางบาล และอำเภอบางซ้าย
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภอบางบาล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านแพรก, อำเภอมหาราช, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง และอำเภอท่าเรือ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอภาชี, อำเภออุทัย และอำเภอวังน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางปะอินและอำเภอบางไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย และอำเภอผักไห่
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
นายเลมียด หงสประภาส

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

[แก้]
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคสหชีพ
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายประเสริฐ ธารีสวัสดิ์ หลวงประสิทธิ์นรกรรม (เจี่ยน หงสประภาส) นายวิโรจน์ กมลพันธ์ พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
2 นายเยื้อน พาณิชวิทย์ นายฟื้น สุพรรณสาร นายเยื้อน พานิชวิทย์ นายปรีดี พนมยงค์ (ลาออก)
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ (แทนนายปรีดี)

ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายฟื้น สุพรรณสาร
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันตรี หลวงจบกระบวนยุทธ
นายฟื้น สุพรรณสาร

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายประเสริฐ บุญสม นายสมศักดิ์ ชมจันทร์ พันตรี หลวงจบกระบวนยุทธ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายประเสริฐ บุญสม นายนิคม สุขพัฒน์ธี

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายประเสริฐ บุญสม
2 นายอตินาท ควรพจน์
3 ว่าที่เรือตรี วิเชียร กลิ่นสุคนธ์
4 นายเผอิญ ศรีภูธร

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสันติชน
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคเสรีนิยม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายประมวล สภาวสุ นายอนันต์ บูรณวนิช นายอุทัย ชุณหะจันทน นายประเสริฐ บุญสม
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายมนตรี พงษ์พานิช นายเสรี มโยทาร นายสมพงษ์ ตรีสุขี นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายมนตรี พงษ์พานิช นายประมวล สภาวสุ นายประเสริฐ บุญสม นายสายัณห์ สากิยะ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายประมวล สภาวสุ พันเอก ณรงค์ กิตติขจร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พันเอก ณรงค์ กิตติขจร นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายประมวล สภาวสุ พลโท เขษม ไกรสรรณ์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายประมวล สภาวสุ นายพงษ์อุดม ตรีสุขี

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

[แก้]
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายมนตรี พงษ์พานิช
นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง
นายประมวล สภาวสุ นายกุมพล สภาวสุ
2 นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ
นายพงษ์อุดม ตรีสุขี นายพงษ์อุดม ตรีสุขี

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร
2 นายพ้อง ชีวานันท์
3 นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล
4 นายวิทยา บุรณศิริ
5 นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสุรเชษฐ์ ชัยโกศล
นายพ้อง ชีวานันท์
นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร
(พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล/เลือกตั้งใหม่)[4]
2 นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล
นายวิทยา บุรณศิริ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554-2566

[แก้]
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร นายทวิวงศ์ โตทวิวงศ์
2 นายพ้อง ชีวานันท์ นายนพ ชีวานันท์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายชริน วงศ์พันธ์เที่ยง
3 นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล นางสาวพิมพฤดา ตันจรารักษ์
4 นายวิทยา บุรณศิริ นายจิรทัศ ไกรเดชา นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล
5 นายองอาจ วชิรพงศ์ ยุบเขต 5 นายประดิษฐ์ สังขจาย

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
  4. ไทยรัฐออนไลน์ (3 Nov 2010). "6ส.ส.พ้นสภาพ ศาลตัดสิทธิ์ ถือครองหุ้นผิด". thairath. สืบค้นเมื่อ 1 Apr 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]