รัฐฌารขัณฑ์
หน้าตา
รัฐฌารขัณฑ์ | |
---|---|
ตามเข็มจากบนซ้าย: แหล่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าดัลมา, เขื่อนปัญเจต, น้ำตกดัสสัม, มาตาฮินนมัสตาเทวีมนเทียรแห่งราชรัปปา, แพทยนาถมนเทียร, ทางหลวงปตรตู | |
พิกัด (รางจี): 23°21′N 85°20′E / 23.35°N 85.33°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
ก่อตั้ง | 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 |
เมืองหลวง | รางจี |
เมืองใหญ่สุด | ชัมเศทปุระ |
อำเภอ | 24 |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐ |
• ผู้ว่ารัฐ | Draupadi Murmu |
• มุขยนายก | Hemant Soren (JMM) |
• นิติบัญญัติ | สภาเดี่ยว (81 ที่นั่ง) |
• โลกสภา | ราชยสภา 6 โลกสภา 14 |
• ศาลสูง | ศาลสูงฌารขัณฑ์ |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 79,714 ตร.กม. (30,778 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 15 |
ประชากร (2011)[1] | |
• ทั้งหมด | 32,988,134 คน |
• อันดับ | ที่ 14 |
• ความหนาแน่น | 414 คน/ตร.กม. (1,070 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | ชาวฌารขัณฑ์ (Jharkhandi) |
GDP (2017–18)[2] | |
• รวม | ₹2.55 lakh crore (36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) |
• ต่อหัว | ₹63,754 (890 ดอลลาร์สหรัฐ) |
ภาษา | |
• ทางการ[3] | ภาษาฮินดี |
• ภาษาทางการรอง | |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-JH |
ทะเบียนพาหนะ | JH |
เอชดีไอ (2018) | 0.599 (ปานกลาง) ที่ 34 |
การรู้หนังสือ (2011) | 67.6% (ที่ 31) |
อัตราส่วนเพศ (2011) | 948 ♀/1000 ♂ (ที่ 18) |
เว็บไซต์ | www |
†Formed by the Bihar Reorganisation Act, 2000 | |
สัญลักษณ์ของรัฐฌารขัณฑ์ | |
สัตว์ | ช้างอินเดีย[5] |
สัตว์ปีก | นกโกเอล |
ดอกไม้ | ทองกวาว[5] |
ต้นไม้ | ต้นสาละ[5] |
ฌารขัณฑ์ (ฮินดี: झारखण्ड) เป็นรัฐทางตะวันออกของประเทศอินเดีย[6] มีพรมแดนติดต่อกับรัฐพิหารทางเหนือ, รัฐอุตตรประเทศทางตะวันตกเฉียงเหนือ, รัฐฉัตตีสครห์ทางตะวันตก, รัฐโอริศาทางใต้ และรัฐเบงกอลตะวันตกทางตะวันออก รัฐฌารขัณฑ์มีพื้นที่ 79,710 km2 (30,778 sq mi) มากเป็นอันดับที่ 15 ของประเทศ และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 14 ของประเทศ มีภาษาราชการคือภาษาฮินดี[3] เมืองหลวงคือเมืองรางจี และมีเมืองดุมกาเป็นเมืองหลวงย่อย รัฐนี้เป็นที่รู้จักสำหรับน้ำตก ภูเขา และสักการสถานต่าง ๆ [7] เช่น ไพทยนาถมนเทียร, ปรษนาถ, ราชรัปปา[8]
ศัพทมูล
[แก้]คำว่า ฌาร (Jhar) แปลว่า "พุ่มไม้" ส่วน ขัณฑ์ (Khand) แปลว่า "ดินแดน" ในภาษาอินโด-อารยันต่าง ๆ ชื่อรัฐ "ฌารขัณฑ์" จึงแปลว่า "ดินแดนแห่งพุ่มไม้หรือป่า"
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Jharkhand Profile 2011 Census" (PDF). Registrar General & Census Commissioner, India. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 22 เมษายน 2016. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2017.
- ↑ "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 1 March 2019. สืบค้นเมื่อ 9 June 2019.
- ↑ 3.0 3.1 "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 43–44. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2016. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ "Jharkhand gives second language status to Magahi, Angika, Bhojpuri and Maithili". The Avenue Mail. 21 March 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2019. สืบค้นเมื่อ 30 April 2019.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "State animals, birds, trees and flowers" (PDF). Wildlife Institute of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 4 March 2009. สืบค้นเมื่อ 5 March 2012.
- ↑ "Jharkhand – At a Glance". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 May 2012. สืบค้นเมื่อ 9 May 2012.
- ↑ "Adventure capital of the east, Jharkhand will drive you crazy". nyoooz.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 April 2019. สืบค้นเมื่อ 30 April 2019.
- ↑ "Jharkhand registers 385% increase in foreign tourist visits". hindustantimes.com. สืบค้นเมื่อ 30 April 2019.