ภาษาสิกขิม
หน้าตา
ภาษาสิกขิม | |
---|---|
ภูมิภาค | ภูฏาน, อินเดีย |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | sip |
ภาษาสิกขิม หรือ ภาษาภูเตีย เป็นภาษาย่อยของภาษาทิเบตใต้ มีผู้พูดจำนวนหนึ่งในชุมชนภูเตีย ทางภาคเหนือของสิกขิมชื่อเรียกในภาษาของตนเองคือ Dranjongke (Wylie: Bras-ljongs-skad)
อักษร
[แก้]ภาษาสิกขิมเขียนด้วยอักษรทิเบต ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบตคลาสสิก แม้ว่าสัทวิทยาและรากศัพท์ของภาษาสิกขิมจะต่างจากภาษาทิเบตคลาสสิก แต่ก็มีผู้พูดภาษาสิกขิมสำเนียงภูเตียที่อ่านออกเขียนได้ด้วยอักษรทิเบตถึง 68%
ภาษาสิกขิมและภาษาเพื่อนบ้าน
[แก้]ผู้พูดภาษาสิกขิมสามารถเข้าใจภาษาซองคาที่มีรากศัพท์ใกล้เคียงกัน 65% และมีความคล้ายคลึงของรากศัพท์กับภาษาทิเบตมาตรฐาน 42% ภาษาสิกขิมยังได้รับอิทธิพลจากภาษายัลโมวาและภาษาตามัง[1] เนื่องจากมีการติดต่อกับผู้พูดภาษาเนปาลีและภาษาทิเบตอย่างใกล้ชิด ทำให้ชาวสิกขิมจำนวนมากพูดภาษานี้ได้ด้วย[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Norboo, S. (1995). "The Sikkimese Bhutia" (PDF). Bulletin of Tibetology. Gangtok: Namgyal Institute of Tibetology. pp. 114–115.
- ↑ Lewis, M. Paul, บ.ก. (2009). "Sikkimese". Ethnologue: Languages of the World (16 ed.). Dallas, Texas: SIL International. สืบค้นเมื่อ 2011-04-16.
ดูเพิ่ม
[แก้]- van Driem, George (1992). The grammar of Dzongkha. Dzongkha Development Commission, Government of Bhutan.[ลิงก์เสีย]