ข้ามไปเนื้อหา

ภาษามอแกน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามอแกน
ประเทศที่มีการพูดจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ ในประเทศไทยและทางใต้ลงมาจากมะริด ในประเทศพม่า
จำนวนผู้พูด7,000 คน (ปี ค.ศ. 1994) เฉพาะประเทศพม่า  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน ไทย
รหัสภาษา
ISO 639-3mwt

ภาษามอแกน (อังกฤษ: Moken) หรือภาษามอเก็น ภาษาเมาเก็น ภาษาบาซิง หรือ เซลุง, ซาลอง, ซะโลน และชาวเกาะ เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมา ตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้ พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้และคาบสมุทรเมกุย (ประมาณ 7,000 คน) ไปจนถึงจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ ของประเทศไทย

ใกล้เคียงกับภาษามอเกลน และมีความสัมพันธ์กับภาษาอูรักลาโอ้ย เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม เป็นชาวประมง ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในเรือ นับถือความเชื่อดั้งเดิมหรือเป็นมุสลิม

อ้างอิง

[แก้]
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.