ดิอินเตอร์เนชันแนล (โดตา 2)
ดิอินเตอร์เนชันแนล | |
---|---|
ประเภท | การแข่งขันอีสปอร์ต โดตา 2 |
ความถี่ | ประจำปี |
ที่ตั้ง |
|
ช่วงปี | 2011–ปัจจุบัน |
ประเดิม | 17–21 สิงหาคม 2011 |
ล่าสุด | 20–25 สิงหาคม 2019 |
ผู้เข้าร่วม |
|
จัดโดย | วาล์วคอร์ปอเรชัน |
เว็บไซต์ | www |
ดิอินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: The International; ตัวย่อ: TI) เป็นการแข่งขันโดตา 2 ประจำปี จัดโดยผู้พัฒนาเกม วาล์วคอร์ปอเรชัน[1] การแข่งขันประกอบด้วยผู้เข้าแข่งขัน 18 ทีม และตามด้วยซีรีส์การแข่งขันระยะยาวที่รู้จักกันในชื่อ โดตาโปรเซอร์กิต[2][3] เงินรางวัลรวมนั้นมาจากการระดมทุนโดยผู้เล่นเกมผ่านทาง "คอมเพนเดียม" ซึ่งเป็นระบบแบตเทิลพาสในเกมที่เปิดตัวเมื่อปี 2013[4][5][6] ผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับเงินรางวัลมากที่สุดรวมถึงถ้วยรางวัล เอจิสออฟแชมเปียนส์[7][8] ด้านหลังของถ้วยรางวัลจารึกด้วยชื่อของผู้ชนะ และรางวัลในเกมจะแสดงชื่อผู้เล่นทุกคนที่อยู่ที่น้ำพุของแต่ละฐาน
เพื่อให้แน่ใจว่าผู้เล่น ดีเฟนส์ออฟดิแอนเชียนส์ (โดตา) เพียงพอที่จะเล่น โดตา 2 และเพื่อโปรโมตเกมให้กับผู้เล่นใหม่ วาล์วได้เชิญทีมอีสปอร์ตโดตาที่ประสบความสำเร็จจำนวน 16 ทีมเข้าร่วมการแข่งขันโดตา 2 ที่เกมส์คอมในเดือนสิงหาคม 2011 ซึ่งต่อมากลายเป็นดิอินเตอร์เนชันแนล[9][10]
ผู้ชนะเลิศ
[แก้]ปี | ผู้ชนะเลิศ | เงินรางวัลรวม | วันที่ | สถานที่ | ที่ตั้ง |
---|---|---|---|---|---|
2011 | Natus Vincere[11] | $1,600,000 | 17–21 สิงหาคม | Koelnmesse[12] | โคโลญ |
2012 | อินวิกตัสเกมมิง[13] | 31 สิงหาคม–2 กันยายน | Benaroya Hall[14] | ซีแอตเทิล | |
2013 | อัลไลแอนซ์[15] | $2,874,380 | 7–11 สิงหาคม | ||
2014 | นิวบี[16] | $10,923,977 | 18–21 กรกฎาคม | คีย์อะรีนา[17] | |
2015 | อีวิลจีเนียสเซส[18] | $18,429,613 | 3–6 สิงหาคม | ||
2016 | วิงส์เกมมิง[19] | $20,770,460 | 3–13 สิงหาคม | ||
2017 | ทีมลิควิด[20] | $24,787,916 | 7–12 สิงหาคม | ||
2018 | โอจี[21] | $25,532,177 | 20–25 สิงหาคม | โรเจอส์อะรีนา[22] | แวนคูเวอร์ |
2019 | โอจี | $34,000,000+ | 20–25 สิงหาคม | เมอร์เซเดส-เบนซ์อะรีนา[23] | เซี่ยงไฮ้ |
2020 | ยกเลิกเนื่องจากเกิดการระบาดทั่วของโควิด-19
|
18–23 สิงหาคม | อะวีชีอารีนา | สต็อกโฮล์ม | |
2021 | ทีมสปิริต[24] | $40,018,195 | 7–17 ตุลาคม | อาเรนานัตซียอนาเลอ[25] | บูคาเรสต์ |
2022 | Tundra | 8–30 ตุลาคม | สิงคโปร์ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Reilly, Jim (August 1, 2011). "Valve Goes Big with Dota 2 Tournament". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 9, 2012.
- ↑ Savov, Vlad. "Valve is rebooting its Dota 2 tournaments for a more democratic and 'organic' approach". The Verge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 5, 2017. สืบค้นเมื่อ July 4, 2017.
- ↑ Gach, Ethan. "Valve Announces Big Changes To Dota 2's Tournament Structure Going Forward". Kotaku. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 10, 2017. สืบค้นเมื่อ July 4, 2017.
- ↑ Erzberger, Tyler. "The International prize pool, a history". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กรกฎาคม 29, 2016. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 30, 2016.
- ↑ Rose, Victoria. "The International's prize pool is, once again, the biggest in esports history". The Flying Courier. Polygon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 4, 2017. สืบค้นเมื่อ July 12, 2017.
- ↑ Parker, Jason. "How to watch Dota 2's The International, the biggest esports event of the year". CNET. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 18, 2018. สืบค้นเมื่อ August 17, 2018.
- ↑ "Dota 2 - Aegis of Champions". Dota 2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 7, 2016. สืบค้นเมื่อ July 12, 2016.
- ↑ Kharpal, Arjun; Roy Choudhury, Saheli. "Pro video gamers are making millions by age 30 in the booming world of 'esports'". CNBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 4, 2018. สืบค้นเมื่อ October 4, 2018.
- ↑ Reilly, Jim (August 1, 2011). "Valve Goes Big with Dota 2 Tournament". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 9, 2012.
- ↑ Stubbs, Mike. "Dota 2's $100 million milestone, visualised". redbull.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 2, 2017. สืบค้นเมื่อ June 27, 2017.
- ↑ S. Good, Owen. "The International goes to China for 2019 championships". Polygon. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.
- ↑ Miozzi, CJ (สิงหาคม 1, 2011). "Valve Announces DOTA 2 Gamescom Tournament". Game Front. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 24, 2013. สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 22, 2014.
- ↑ Cybercube. "The end of Na Vi reign: Invictus Gaming champions team then and now". Medium.com. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.
- ↑ Hafer, T.J. (พฤษภาคม 11, 2012). "The International Dota 2 Championships 2012 to be held at PAX Prime this August". PC Gamer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มิถุนายน 29, 2014. สืบค้นเมื่อ มีนาคม 3, 2014.
- ↑ Pitcher, Jenna. "The International attracts more than 1 million viewers". Polygon. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.
- ↑ Gies, Arthur. "Dota 2 team Newbee just won The International 4 — along with the largest eSports prize pool in history". Polygon. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.
- ↑ Williams, Katie (มีนาคม 31, 2014). "Valve Announces Dates, Location, and Ticket Prices for The International 2014". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ เมษายน 4, 2014. สืบค้นเมื่อ เมษายน 1, 2014.
- ↑ Dator, James. "Evil Geniuses win The International Dota 2 Championship 2015". SB Nation. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.
- ↑ Walker, Dylan (สิงหาคม 13, 2016). "Wings Gaming wins the Dota 2 International 2016, nearly $10 million in prize money". Yahoo! esports. Yahoo!. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กันยายน 17, 2016. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 14, 2016.
- ↑ Rose, Victoria (สิงหาคม 12, 2017). "How Team Liquid swept The International 2017 Grand Finals for the $10.8M prize". PC Gamer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ สิงหาคม 16, 2017. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 16, 2017.
- ↑ Gach, Ethan. "Tournament Underdogs Won This Year's Dota 2 International". Kotaku. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 27, 2018. สืบค้นเมื่อ August 27, 2018.
- ↑ Rose, Victoria. "The International 8 to take place August 20–25 in Vancouver". The Flying Courier. Polygon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มีนาคม 16, 2018. สืบค้นเมื่อ มีนาคม 16, 2018.
- ↑ Mejia, Ozzie. "The Dota 2 International 9 will take place in Shanghai, China". ShackNews. สืบค้นเมื่อ 25 August 2018.
- ↑ Michael, Cale (October 17, 2021). "Team Spirit shock the world, beat PSG.LGD to win The International 10". Dot Esports.
- ↑ Goslin, Austen. "Dota 2's The International 10 tournament has been moved to a new country". Polygon. สืบค้นเมื่อ October 17, 2021.
- ↑ Michael, Cale. "The International 2022 dates revealed, next Dota 2 update drops June 8". Dot Esports. สืบค้นเมื่อ 2 June 2022.