ข้ามไปเนื้อหา

ดอแนตสก์

พิกัด: 48°00′10″N 37°48′19″E / 48.00278°N 37.80528°E / 48.00278; 37.80528
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ดอแนตสก์
ทวนเข็มนาฬิกา: อาสนวิหารพระเยซูทรงจำแลงพระกาย (รูปใหญ่), ดอนบัสแพลิส (โรงแรม), โรงละคร, จัตุรัสเลนิน, สะพานที่ถนนอิลลีชา, โรงอุปรากร
ทวนเข็มนาฬิกา: อาสนวิหารพระเยซูทรงจำแลงพระกาย (รูปใหญ่), ดอนบัสแพลิส (โรงแรม), โรงละคร, จัตุรัสเลนิน, สะพานที่ถนนอิลลีชา, โรงอุปรากร
ธงของดอแนตสก์
ธง
ตราราชการของดอแนตสก์
ตราอาร์ม
ดอแนตสก์ตั้งอยู่ในประเทศยูเครน
ดอแนตสก์
ดอแนตสก์
ที่ตั้งนครดอแนตสก์ในประเทศยูเครน
พิกัด: 48°00′10″N 37°48′19″E / 48.00278°N 37.80528°E / 48.00278; 37.80528
ประเทศธงของประเทศยูเครน ยูเครน
แคว้นดอแนตสก์
เขตเทศบาลนครดอแนตสก์
ก่อตั้งค.ศ. 1869
สิทธิ์ของนครค.ศ. 1917
เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์ค.ศ. 2014
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีออแลกซันดร์ ลูเกียนแชนกอ[a]
พื้นที่
 • นคร358 ตร.กม. (138 ตร.ไมล์)
ความสูง169 เมตร (554 ฟุต)
ประชากร
 (1 มกราคม ค.ศ. 2016)
 • นคร929,063 คน
 • ความหนาแน่น2,600 คน/ตร.กม. (6,700 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,009,700[1] คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก)
รหัสไปรษณีย์83000—83497
รหัสพื้นที่+380 622, 623
ป้ายทะเบียนรถАН
ภูมิอากาศDfb
^ จำนวนประชากรในเขตนครดอแนตสก์และปริมณฑลเป็นข้อมูลใน ค.ศ. 2004

ดอแนตสก์ (ยูเครน: Доне́цьк, ออกเสียง: [doˈnɛtsʲk] ( ฟังเสียง)) หรือ โดเนตสค์ (รัสเซีย: Доне́цк, ออกเสียง: [dɐˈnʲetsk]) เป็นเมืองอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน มีพื้นที่ 358 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,100,700 คน

ตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 2014 ดอแนตสก์และพื้นที่โดยรอบเป็นหนึ่งในสถานที่หลักของการสู้รบในสงครามดอนบัสที่กำลังดำเนินอยู่ เนื่องจากกองกำลังแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนรัสเซียได้ต่อสู้กับกองกำลังทหารของยูเครนเพื่อควบคุมเมืองและพื้นที่โดยรอบ ตลอดช่วงเวลาส่วนใหญ่ของสงครามนี้ เมืองดอแนตสก์อยู่ใต้การบริหารของกองกำลังแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนรัสเซีย ส่วนพื้นที่รอบนอกในแคว้นดอแนตส์ถูกแบ่งกันระหว่างสองฝ่าย[1]

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. ปัจจุบันลูเกียนแชนกอย้ายไปอยู่ที่กรุงเคียฟเนื่องจากสงครามในดอนบัส

อ้างอิง

[แก้]
  1. Weaver, Matthew; Luhn, Alec (13 February 2015). "Ukraine ceasefire deal agreed at Minsk talks". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 16 December 2016.