Unit 1

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 37

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง

รายวิชาที่นำมาบูรณาการ
การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ และภาษาไทย
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มฐ. ค 6.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปี ที่เกี่ยวข้อง
ค 6.1 ม.2/1, 2
3. สาระการเรียนรู้ประจำหน่วย
3.1 ความหมายของเลขยกกำลัง
3.2 สมบัติของเลขยกกำลัง
3.3 การเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
4. ร่องรอยการเรียนรู้
4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
1) การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1- 20
2) การทำแบบฝึกหัด
3) การทำแบบทดสอบ
4.2 ผลการปฏิบัติงานได้แก่
1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใช้บริการของโรงเรียนอย่างเหมาะสม
2) การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้

5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ในภาพรวม

แนวทางการจัดการเรียนรู้
ร่องรอยการเรียนรู้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ได้แก่
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 2

1) การทำกิจกรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแต่ละเรื่อง - ฝึกคิดตามและร่วมทำ


สอบความเข้าใจ 1- 20 กิจกรรมในชั้นเรียน
2) การทำแบบฝึกหัด - แนะการทำแบบฝึกหัดและ - ทำกิจกรรมตรวจสอบความ
กิจกรรมตรวจสอบความเข้า เข้าใจและแบบฝึกหัด
3) การทำแบบทดสอบ ใจ
- อธิบายสรุปความคิดรวบยอด - ทำแบบทดสอบหน่วยย่อย
ในแต่ละเรื่อง เป็นรายกลุ่ม
5.2 ผลการปฏิบัติงาน ได้แก่
1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนำวิธีการเขียนแผนผัง - ให้นักเรียนเขียนแผนผัง
ชั้นเรียนและการใช้ สรุปความคิดรวบยอดเพื่อ ความคิดประจำหน่วย
บริการของโรงเรียน สรุปเนื้อหาประจำหน่วย - ให้นักเรียนไปค้นคว้าโจทย์
อย่างเหมาะสม - แนะนำให้นักเรียนใช้บริการ ในห้องสมุดโรงเรียนและ
ห้องสมุดของโรงเรียนอย่าง ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียน
เหมาะสม รู้คณิตศาสตร์
2) การมีส่วนร่วมในการ - แนะนำวิธีการจัดกลุ่มและ - ให้นักเรียนจัดกลุ่มตามที่ครู
ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม การทำกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายและช่วยกันทำ
กิจกรรมในชั้นเรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สำคัญตามแผน - ทำแบบทดสอบหลังเรียนจบ
ทางการเรียน ผังความคิดรวบยอดประจำ
หน่วยอีกครั้ง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง บทนิยามของเลขยกกำลัง
เวลา 1 ชั่วโมง
1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
1) สามารถเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังได้
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถบอกความหมายของเลขยกกำลังได้อย่างถูกต้อง
2. สาระสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 3

2.1 สาระการเรียนรู้
a เป็นจำนวนใดๆ และ n เป็นจำนวนนับ a คูณกันอยู่ n ตัว จะเขียนแทนด้วย an
2.2 ทักษะ / กระบวนการ
การคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การคิดคำนวณ
2.3 ทักษะการคิด
ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะ
การให้เหตุผล
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2) เลือกหัวหน้ากลุ่ม
3) หัวหน้ากลุ่มแบ่งงาน
4) ร่วมกันจัดทำบัตรกิจกรรม
5) นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
6) ร่วมกันทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
7) ส่งงาน

3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค์
1) ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทำงาน
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของเลขยกกำลังได้
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
เ ก ณ ฑ์ ขั้ น ต่ำ
1) ได้ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป
2) ได้ระดับ “ดี” ขึ้นไป
3) ทำได้ถูกต้อง 80% ขึ้นไป
ก า ร ส รุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1 (บทนิยามของเลขยกกำลัง)
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 4

ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องเลขยกกำลังที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้วเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของ
นักเรียน
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
1. ครูให้นักเรียนพิจารณาผลการคูณต่อไปนี้ว่ามีการเขียนคำตอบในลักษณะใด ทักษะการตีความหมาย
1) 3 3  333 3  3 = 37
2) (-4)  (-4)  (-4) = (-4)3
2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจากสิ่งที่พิจารณาข้างต้น จนได้ข้อสรุปว่าการ
เขียน 3 3  333 3  3 = 37 หรือการเขียน(-4)  (-4)  (-4) = (-4)3 ทักษะการคิดสรุปผล
ในรูป (-4)3 เรียกว่า การเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลัง ครูแนะนำนักเรียน
ต่อว่า สำหรับ 37 เรียก 3 ว่า ฐาน และเรียก 7 ว่า เลขชี้กำลัง
สำหรับ (-4)3 เรียก (-4) ว่า ฐาน และเรียก 3 ว่า เลขชี้กำลัง
3. ให้นักเรียนยกตัวอย่างการเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลัง โดยครูซักถามและ ทักษะการคิดวิเคราะห์
เขียนบนกระดาน ครูซักถามนักเรียนถึงการเขียน สามารถ
จำนวน
เขียนแทนด้วยเลขยกกำลังได้อย่างไร (an)
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทนิยามของเลขยกกำลังได้ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ
บทนิยามของเลขยกกำลัง ให้ a แทนจำนวนใดๆ และ n แทนจำนวนนับ
an =
จำนวน
เรียก a ว่าฐาน เรียก n ว่าเลขชี้กำลัง
5. ครูนำเสนอตัวอย่างต่อไปนี้ให้นักเรียนสังเกต ทักษะการคิดคำนวณ
ตัวอย่าง จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลัง
(1) 32 (2) 227 (3) 625
6. ครูเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลังในข้อแรกให้นักเรียนดู จะได้ ทักษะการคิดคำนวณ
(1) 32 = 2  2  2  2  2 = 25
7. ให้นักเรียนเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลังข้ออื่นๆ โดยครูตรวจสอบความ
ถูกต้อง ต่อจากนั้นให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1 เพื่อตรวจ
สอบความเข้าใจของนักเรียน

5.3 ขั้นสรุป
นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของเลขยกกำลัง ดังนี้
an หมายความว่า a คูณกันทั้งหมด n ตัว
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 5

6.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์
ขั้นรวบรวมข้อมูล
ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาเรื่องของเลขยกกำลังพร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบอย่างละเอียด
มาคนละ 5 ข้อ
ขั้นวิเคราะห์
ให้นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์เรื่องที่ตัวเองไปศึกษาค้นคว้ามา
ขั้นสรุป
ครูตรวจผลงานนักเรียนแต่ละคน พร้อมให้ข้อเสนอแนะแล้วให้หัวหน้าห้องรวบรวมงานทั้งหมด
จัดทำเป็นรูปเล่มรายงาน
ขั้นประยุกต์ใช้
ครูให้นักเรียนช่วยกันเลือกข้อที่น่าสนใจแล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยกำหนดภาระงานให้นักเรียนช่วยกันเขียน
กลอนเกี่ยวกับการให้ความหมายของเลขยกกำลัง
ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของเลขยกกำลัง”
ผลการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการให้ความหมายของเลข
ยกกำลัง
ผลงานที่ต้องการ กลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของเลขยกกำลัง
ขั้นตอนการทำงาน 1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนต่าง ๆ
2. ศึกษาเรื่องความหมายของเลขยกกำลัง
3. ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามข้อคิดเห็น
4. คัดเลือกกลอนที่นักเรียนแต่งได้ครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติดป้ ายนิเทศ
และอ่านให้เพื่อนห้องอื่นๆ ฟัง
เกณฑ์การประเมิน 1. ความถูกต้องในเรื่องความหมายของเลขยกกำลัง
2. ความไพเราะและเหมาะสม
3. การใช้คำ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 6

8. บันทึกหลังการสอน
บันทึกหลังการสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน )
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของนักเรียน
บันทึกเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..
ตำแหน่ง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 7

9. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคำถาม
การทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
การใช้ความรู้ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ความสามารถในการใช้ภาษาและสื่อลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
การวางแผน
การกำหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
ความคิดสร้างสรรค์
ผลการทำงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 8

เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง
เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
1) สามารถหาผลคูณและผลหารของจำนวนที่เขียนในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
โดยใช้สมบัติของเลขยกกำลัง
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถบอกสมบัติของเลขยกกำลังได้อย่างถูกต้อง
2. สาระสำคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนนับ แล้ว am  an = am + n
2) ถ้า a และ b เป็นจำนวนใดๆ m เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว (a  b)m = am  bm
3) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว (am ) n = amn
4) ถ้า a และ b เป็นจำนวนใดๆ b  0 m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว
5) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ a  0, m และ n เป็นจำนวนนับ และ m  n แล้ว = am - n
6) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ a  0, m และ n เป็นจำนวนนับ และ m  n แล้ว =
7) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ a  0, m และ n เป็นจำนวนนับ และ m = n แล้ว =1
2.2 ทักษะ / กระบวนการ
การคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การคิดคำนวณ
2.3 ทักษะการคิด
ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการคิดจัดลำดับ ทักษะการ
คิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแก้ปัญหา
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
1) การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2 - 5
2) การทำแบบทดสอบ
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2) เลือกหัวหน้ากลุ่ม
3) หัวหน้ากลุ่มแบ่งงาน
4) ร่วมกันจัดทำบัตรกิจกรรม
5) นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 9

6) ร่วมกันทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
7) ส่งงาน
3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค์
1) ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทำงาน
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
นักเรียนเข้าใจสมบัติของเลขยกกำลังได้และนำไปใช้ได้
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
เกณฑ์ขั้นต่ำ
1) ได้ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป
2) ได้ระดับ “ดี” ขึ้นไป
3) ทำได้ถูกต้อง 80% ขึ้นไป
ก า ร ส รุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1 (สมบัติของเลขยกกำลัง)
ครูทบทวนการเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลังที่เรียนมาในชั่วโมงที่แล้วให้นักเรียน
พิจารณาการหาคำตอบของตัวอย่างต่อไปนี้
34  33 = (3  3  3  3)  (3  3 3) = 37
ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของเลขยกกำลัง ต่อ)
ครูทบทวนเรื่องของเลขยกกำลังที่เรียนมาในชั่วโมงที่แล้ว โดยการสนทนาและซักถามหรือการตั้ง
ปัญหา
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (กฎของเลขยกกำลัง)
1. ครูทบทวนการเขียนจำนวนในรูปเลขยกกำลังที่เรียนมาในชั่วโมงที่แล้วให้ ทักษะการคิดวิเคราะห์
นักเรียนพิจารณาการหาคำตอบของตัวอย่างต่อไปนี้
34  33 = (3  3  3  3)  (3  3 3) = 37
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้จากการพิจารณา เช่น ทักษะการตีความหมาย
- มีวิธีทำอย่างไร
- คำตอบได้มาอย่างไร
- อื่นๆ
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2 โดยครูคอยแนะนำถ้านักเรียนมี ทักษะการคิดคำนวณ
ข้อสงสัย และสุ่มให้นักเรียนรายงานคำตอบของตัวเอง โดยครูตรวจสอบความถูก
ต้อง และนำคำตอบที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 2 มาพิจารณาว่ามีวิธีการอย่างไร จน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 10

ได้ข้อสรุปเป็นสมบัติของเลขยกกำลังข้อที่ 1 ดังนี้
สมบัติข้อที่ 1 เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนนับ แล้ว
a m  a n = am + n
4. ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 1 แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบจากสมบัติข้อที่ 1 ของ ทักษะการคิดคำนวณ
เลขยกกำลัง
ตัวอย่างที่ 1 จงทำให้เป็นผลสำเร็จ
(1) 4342 (2) (-3)4  (-3)3
ครูซักถามวิธีการทำพร้อมทั้งเขียนบนกระดานดำได้ดังนี้
(1) 4342 = 43 + 2 = 45
(2) (-3)4 (-3)3 = (-3)4 + 3 = (-3)7
5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ให้ช่วยกันทำกิจกรรมตรวจสอบความ ทักษะการคิดคำนวณ
เข้าใจ 3 และรายงานคำตอบที่ได้ ครูเฉลยอีกครั้งหลังนักเรียนรายงานคำตอบ
เรียบร้อย ทักษะการคิดวิเคราะห์
6. ให้นักเรียนพิจารณาการหาคำตอบของเลขชี้กำลังต่อไปนี้ว่ามีวิธีการอย่างไร
(3  6)3 = (3  6)  (3  6)  (3  6)
= (333)  (666)
= 3 3  63
= 27  216
= 5,832
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
7. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่พิจารณา เช่น ทักษะการตีความหมาย
- มีวิธีการอย่างไรบ้าง
- อื่นๆ
8. ครูยกตัวอย่างโจทย์แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ โดยครูคอยแนะนำถ้า ทักษะการคิดคำนวณ
นักเรียนมีข้อสงสัย สุ่มให้นักเรียนรายงานคำตอบของตัวเอง โดยครูตรวจสอบความ
ถูกต้อง และนำคำตอบที่ได้จากการตัวอย่างข้างต้น มาพิจารณา จนได้ข้อสรุปเป็น
สมบัติของเลขยกกำลังข้อที่ 2 ดังนี้
สมบัติข้อที่ 2 ถ้า a , b เป็นจำนวนใดๆ m เป็นจำนวนเต็มบวก
(ab)m = am  bm
ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์โดยใช้สมบัติข้อที่ 2
(1) [(-3)  2]5 (2) [(-5)  2]4
9. ครูซักถามนักเรียนถึงวิธีการทำพร้อมทั้งเขียนบนกระดานดำได้ดังนี้ ทักษะการคิดคำนวณ
(1) [(-3)  2]5 = (-3)5  25 = (-243)  32 = -7,776
(2) [(-5)  2]4 = (-5)4 (2)4 = 625  16 = 10,000
10. ให้นักเรียนบันทึกลงในสมุด และให้ทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3 โดย ทักษะการคิดคำนวณ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 11

ครูตรวจสอบความถูกต้อง ถ้านักเรียนทำผิดครูควรอธิบายเพิ่มเติม
ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของเลขยกกำลังต่อ)
1. ครูให้นักเรียนพิจารณาการหาคำตอบของเลขยกกำลังต่อไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห์
(1) (23)2 = 2323 = 26 = 23 2
(2) [(-3)3]3 = (-3)3  (-3)3  (-3)3 = (-3)9 = (-3)3  3
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้จากการพิจารณาการหาคำตอบข้างต้น ทักษะการตีความหมาย
3. ครูยกตัวอย่างโจทย์ให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ โดยครูคอยแนะนำ แล้วสุ่มให้ ทักษะการคิดคำนวณ
นักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนๆ คอยตรวจสอบความถูก
ต้อง
4. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงคำตอบที่ได้จากตัวอย่างข้างต้น จนได้ข้อสรุปเป็น ทักษะการคิดวิเคราะห์
สมบัติของเลขยกกำลังข้อที่ 3
สมบัติข้อที่ 3 ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก
(am)n = amn

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
5. ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 3 แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบโดยใช้สมบัติข้อที่ 3 ทักษะการคิดคำนวณ
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์โดยใช้สมบัติข้อที่ 3
(1) (52)3 (2) [(-4)3]3
6. ให้นักเรียนนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูตรวจสอบความถูกผิด แล้วให้ ทักษะการคิดคำนวณ
นักเรียนเขียนลงในสมุดงาน จากนั้นให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง
7. ให้นักเรียนสังเกตการหาคำตอบของตัวอย่างต่อไปนี้ ทักษะการสังเกต
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
8. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่หาคำตอบได้ข้างต้น
9. ให้นักเรียนทำโจทย์ที่ครูตั้งให้ โดยครูคอยแนะนำและให้นักเรียนที่ตอบถูกไป
เขียนเฉลยบนกระดานดำ ให้นักเรียนพิจารณาถึงคำตอบที่ได้ จากนั้นครูและ
นักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติข้อที่ 4 ของเลขยกกำลัง ดังนี้
สมบัติข้อที่ 4 ถ้า a และ b เป็นจำนวนใดๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็น
จำนวนเต็มบวกแล้ว
10. ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 4 แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบโดยใช้สมบัติข้อที่ 4 ทักษะการคิดคำนวณ
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลัพธ์โดยใช้สมบัติข้อที่ 4
(1) (2)
สุ่มให้นักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนตรวจสอบความ
ถูกต้อง ต่อจากนั้นให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 5 เพื่อตรวจสอบ
ความเข้าใจ หลังจากนั้นให้นักเรียนหาคำตอบของเลขยกกำลังต่อไปนี้ โดยครูเป็น
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 12

ผู้ซักถามและเขียนคำตอบบนกระดาน
1.
ทักษะการคิดวิเคราะห์
11. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ทำโจทย์ที่ครูเตรียมมา และอภิปรายถึง ทักษะการคิดคำนวณ
คำตอบที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ในกลุ่ม จากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มนำออกมาเสนอหน้า
ชั้นเรียนโดยครูตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายต่อจนได้ข้อสรุปเป็นสมบัติของ
เลขยกกำลังข้อที่ 5 ดังนี้

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
สมบัติข้อที่ 5 เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ a  0 และ n เป็นจำนวนนับ

12. ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 5 แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบโดยใช้สมบัติข้อที่ 5


ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลลัพธ์โดยใช้สมบัติข้อที่ 5
(1) (2)
13. ครูเขียนแสดงวิธีทำให้นักเรียนดูในข้อแรกได้ดังนี้ ทักษะการคิดคำนวณ
(1)
14. แล้วให้นักเรียนแสดงวิธีทำข้ออื่นๆ โดยครูคอยตรวจสอบความถูกต้อง ต่อจาก
นั้นให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 6 เป็นการบ้าน และกำหนดวันส่ง

5.3 ขั้นสรุป
ชั่วโมงที่ 1 (สมบัติของเลขยกกำลัง)
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสมบัติข้อที่ 1 และข้อที่ 2 ของเลขยกกำลัง
สมบัติข้อที่ 1 เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว am  an = am + n
สมบัติข้อที่ 2 ถ้า a , b เป็นจำนวนใดๆ m เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว (ab)m = am  bm
ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของเลขยกกำลังต่อ)
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสมบัติข้อ 3 ถึง ข้อ 5 ของเลขยกกำลัง
สมบัติข้อที่ 3 ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว (am)n = amn
สมบัติข้อที่ 4 ถ้า a และ b เป็นจำนวนใดๆ โดยที่ b ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 13

สมบัติข้อที่ 5 ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ a  0 และ n เป็นจำนวนนับ แล้ว

6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
6.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- อินเทอร์เน็ต
7. กิจกรรมเสนอแนะ
-
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 14

8. บันทึกหลังการสอน
บันทึกหลังการสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน )
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของนักเรียน
บันทึกเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..
ตำแหน่ง…….……..………………………..

9. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 15

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคำถาม
การทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
การใช้ความรู้ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ความสามารถในการใช้ภาษาและสื่อลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
การวางแผน
การกำหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
ความคิดสร้างสรรค์
ผลการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 16

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง บทนิยาม a0, a -n
เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
1) มีความเข้าใจบทนิยาม a0, a -n ได้เป็นอย่างดี
2) นำความรู้ที่ได้หาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลังได้
3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) มีความเข้าใจบทนิยาม a0, a -n ได้เป็นอย่างดี
2) นำความรู้ที่ได้หาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลังได้
2. สาระสำคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ ที่ a  0 และ n เป็นจำนวนนับ แล้ว
2) ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ ที่ a  0 แล้ว
2.2 ทักษะ / กระบวนการ
การคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การคิดคำนวณ
2.3 ทักษะการคิด
ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการให้เหตุผล
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
1) การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 5 และแบบฝึกหัด 1
2) การทำแบบทดสอบ
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2) เลือกหัวหน้ากลุ่ม
3) หัวหน้ากลุ่มแบ่งงาน
4) ร่วมกันจัดทำบัตรกิจกรรม
5) นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
6) ร่วมกันทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
7) ส่งงาน
3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค์
1) ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 17

3.4 ความรู้ความเข้าใจ
นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของเลขยกกำลังได้และนำมาใช้ได้
4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
เ ก ณ ฑ์ ขั้ น ต่ำ
1) ได้ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป
2) ได้ระดับ “ดี” ขึ้นไป
3) ทำได้ถูกต้อง 80% ขึ้นไป
ก า ร ส รุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1 (บทนิยาม a- n)
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสมบัติของเลขยกกำลังข้อ 1 – 5 ที่เรียนมาในชั่วโมงที่แล้วโดย
การยกตัวอย่างโจทย์แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ
ชั่วโมงที่ 2 (บทนิยาม a0)
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทนิยามของเลขยกกำลังที่เรียนมาแล้วโดยการสนทนาและยก
ตัวอย่างให้นักเรียนแข่งกันหาคำตอบ

5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (บทนิยาม a )-n

1. ครูยกตัวอย่างโจทย์การหาคำตอบของเลขยกกำลังให้นักเรียนพิจารณาการ
หาคำตอบของ

2. ครูซักถามนักเรียนถึงสมบัติข้อที่ 5 ในกรณี m, n เขียนว่าอย่างไร

3. ให้นักเรียนทำโจทย์ข้างต้นโดยใช้สมบัติข้อที่ 5 จะได้ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 18

นั่นคือ
4. ให้นักเรียนสังเกตวิธีการทำทั้ง 2 แบบ จากนั้นร่วมกันอภิปรายถึงคำตอบได้
ดังนี้
5. ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนบนกระดาน เช่น
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจากตัวอย่างและช่วยกันสรุปนิยามของ a- n
ได้ดังนี้
บทนิยาม ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ ที่ a  0 และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว

7. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 7 โดยครูคอยแนะนำในกรณีที่
มีปัญหา ให้นักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบกิจกรรมการตรวจสอบความเข้าใจ 7
โดยครูพิจารณาความถูกต้อง จากนั้นให้นักเรียนพิจารณาการเปลี่ยนให้อยู่ใน
รูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ

นั่นคือ
9. ให้นักเรียนร่วมกันสังเกตถึงคำตอบที่ได้ดังนี้
หรือ นั่นเอง
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 19

10. ครูแนะนำนักเรียน เราสามารถแสดงรูปทั่วไปได้ว่า


ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ ที่ a  0 และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว
ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 8 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
11. ครูกล่าวคำชมเชยแก่นักเรียนที่ทำถูก และส่งตามกำหนดเวลา
ชั่วโมงที่ 2 (บทนิยาม a0)
1. ครูทบทวนบทนิยาม ที่เขียนในชั่วโมงที่แล้วโดยการซักถาม
และยกตัวอย่างประกอบ
2. ให้นักเรียนพิจารณาการหาคำตอบของเลขยกกำลัง บนกระดาน
3. ครูซักถามนักเรียนว่าเรามีวิธีการทำอย่างไร นำคำตอบที่ได้มาร่วมอภิปราย
อีกครั้ง และถามนักเรียนว่า ในการเขียนเศษส่วนโดยตัวเศษและตัวส่วนเท่ากัน
จะมีค่าเช่นไร ครูยกตัวอย่างประกอบ เช่น = 1, = 1, = 1
ดังนั้น จากการพิจารณาข้างต้น =1
4. ครูแนะนำวิธีการทำให้นักเรียนเห็นว่าหากเราใช้สมบัติข้อที่ 5 ในการทำจะ
ได้ดังนี้ = 103 - 3 = 100
นั่นคือ 100 = 1
ให้นักเรียนสังเกตตัวอย่างต่อไปนี้
10 = 1 20 = 1
150 = 1 a0 = 1
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
5. จากการสังเกต ให้นักเรียนอภิปรายในชั้นเรียนจนได้ข้อสรุปเป็นนิยามดังนี้
บทนิยาม ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ ที่ a  0 แล้ว a0 = 1
6. ครูนำเสนอตัวอย่างที่ 8 แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถาม และครูตรวจ
สอบความถูกต้อง
ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ 40
7. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 9 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
8. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ครูเขียนโจทย์บนกระดานทีละข้อ
เช่น
(1) (2100)0 = .....................................
(2) = .....................................
(3) = ..................................... เป็นต้น
9. ให้นักเรียนออกมาหาคำตอบจากโจทย์ที่ครูเขียนไว้บนกระดาน กลุ่มใดหา
ได้ก่อนกลุ่มนั้นจะเป็นฝ่ ายได้คะแนน จากนั้นให้รางวัลแก่กลุ่มที่ได้คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 20

มากที่สุด และให้คำชมเชยแก่กลุ่มที่ได้คะแนนน้อย

5.3 ขั้นสรุป
ชั่วโมงที่ 1 (บทนิยาม a- n)
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับบทนิยาม a- n
ชั่วโมงที่ 2 (บทนิยาม a0)
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับบทนิยาม a0
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสือเรียนแม็ค
6.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. กิจกรรมเสนอแนะ
-

8. บันทึกหลังการสอน
บันทึกหลังการสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน )
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 21

บันทึกเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..
ตำแหน่ง…….……..………………………..

9. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคำถาม
การทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
การใช้ความรู้ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ความสามารถในการใช้ภาษาและสื่อลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 22

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
การวางแผน
การกำหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
ความคิดสร้างสรรค์
ผลการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 23

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม
เวลา 3 ชั่วโมง

1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
1) นำความรู้เรื่องเลขยกกำลังไปใช้แก้ปัญหาได้
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถนำความรู้เรื่องเลขยกกำลังไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
2. สาระสำคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็ม แล้ว a คูณกัน n ตัว จะเขียนแทนด้วย an
2) เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ a  0 และ n = 0 จะได้ a0 = 1
3) เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ a  0 และ n เป็นจำนวนเต็ม จะได้
2.2 ทักษะ / กระบวนการ
การคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การคิดคำนวณ
2.3 ทักษะการคิด
ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการให้เหตุผล
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
1) การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 6-7
2) การทำแบบทดสอบ
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2) เลือกหัวหน้ากลุ่ม
3) หัวหน้ากลุ่มแบ่งงาน
4) ร่วมกันจัดทำบัตรกิจกรรม
5) นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
6) ร่วมกันทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
7) ส่งงาน
3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค์
1) ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 24

3.4 ความรู้ความเข้าใจ
นักเรียนสามารถอธิบายวิธี การหาคำตอบเรื่องเลขยกกำลังที่มีตัวชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
เกณฑ์ขั้นต่ำ
1) ได้ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป
2) ได้ระดับ “ดี” ขึ้นไป
3) ทำได้ถูกต้อง 80% ขึ้นไป
การสรุปผลการประเมิน
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1 (เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม)
ครูทบทวนเรื่องของเลขยกกำลังที่เรียนมาแล้วโดยครูซักถามและยกตัวอย่างประกอบ
ชั่วโมงที่ 2 (สรุปสมบัติของเลขยกกำลัง)
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงกฎของเลขยกกำลังที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมาแล้วโดยครูเป็นผู้
ซักถามหรือยกตัวอย่างโจทย์ให้นักเรียนแข่งกันตอบคำถาม
ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของเลขยกกำลังเพิ่มเติม)
ครูทบทวนเรื่องสมบัติของเลขยกกำลังที่เรียนมาแล้วโดยการซักถามและยกตัวอย่างประกอบ และ
ให้นักเรียนค้นคว้าสมบัติเพิ่มเติมของเลขยกกำลังแล้วนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียน โดยครูเป็นผู้ซักถามเพื่อ
ช่วยในการอธิบาย

5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม)
1. ครูทบทวนเรื่องของเลขยกกำลังที่เรียนมาแล้วโดยครูซักถามและยกตัวอย่าง ทักษะการคิดวิเคราะห์
ประกอบ
2. ครูแนะนำเกี่ยวกับเรื่องของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม จนได้ ทักษะการคิดสรุปความ
ข้อสรุปเป็นข้อๆ ดังนี้
นิยามของ an เมื่อ a เป็นจำนวนใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็ม
1) สำหรับจำนวนเต็มบวก
2) สำหรับ a  0 และ n = 0 แล้ว a0 = 1
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 25

3) สำหรับ a  0 และ n เป็นจำนวนเต็ม จะได้


3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ไปค้นคว้าเรื่องของเลขยกกำลังที่มี
เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มและยกตัวอย่างโจทย์ และหาคำตอบของเลขยกกำลัง ทักษะการคิดวิเคราะห์
ที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม จากนั้นนำมาอภิปรายความถูกต้องของคำตอบ ทักษะการตีความหมาย
แล้วเลือกข้อที่น่าสนใจนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน ทักษะการคิดสรุปความ
4. ครูพิจารณาความถูกต้อง แล้วนำไปติดที่ป้ ายนิเทศให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า
ชั่วโมงที่ 2 (สรุปสมบัติของเลขยกกำลัง)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงกฎของเลขยกกำลังที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่าน
มาแล้ว และช่วยกันสรุปสมบัติของเลขยกกำลังทั้งหมดได้ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห์
(1) (2) ทักษะการคิดคำนวณ
(3) (4)
(5)
2. ครูให้นักเรียนไปค้นคว้าโจทย์ที่เกี่ยวกับข้อสรุปของเลขยกกำลังแล้วนำมา
อภิปรายในห้องเรียน โดยครูพิจารณาความถูกต้อง จากนั้นให้นักเรียนพิจารณา
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 10 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
ของนักเรียน
ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของเลขยกกำลังเพิ่มเติม)
1. ครูทบทวนเรื่องสมบัติของเลขยกกำลังที่เรียนมาแล้วโดยการซักถามและ ทักษะการคิดวิเคราะห์
ยกตัวอย่างประกอบ จากนั้นครูอธิบายว่า จากบทนิยามทั้ง 3 ข้อ และสมบัติข้อ ทักษะการคิดคำนวณ
ที่ 5 เราสามารถสร้างสมบัติเพิ่มเติมได้อีก แล้วให้นักเรียนไปค้นคว้าสมบัติเพิ่ม
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
เติมของเลขยกกำลัง แล้วนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียน โดยครูและนักเรียนช่วย
กันสรุปสมบัติเพิ่มเติมจากที่ไปค้นคว้ามาได้
2. ครูนำเสนอตัวอย่าง
ตัวอย่าง จงทำ (3a4)(9a-2) ให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กำลังเป็นบวก
3. ครูซักถามนักเรียนถึงวิธีการทำตัวอย่างที่ครูแสดงให้ดูบนกระดานจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห์
ครูแสดงวิธีทำให้นักเรียนดูได้ดังนี้
(3a4)(9a-2) = (39) ( a4 a-2) = 27a4 – 2 = 27a2
4. ให้นักเรียนแสดงวิธีทำในตัวอย่างอื่นที่ครูนำเสนอ จากนั้นสุ่มให้นักเรียน ทักษะการคิดคำนวณ
ออกมาเขียนเฉลยหน้าห้องและอธิบายให้เพื่อนฟัง โดยครูใช้คำถามช่วยในการ
อธิบาย
5. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 11 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ทักษะการคิดคำนวณ
ของนักเรียน โดยครูกำหนดวันส่งงาน

5.3 ขั้นสรุป
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 26

ชั่วโมงที่ 1
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปวิธีการหาคำตอบที่มีเลขยกกำลังเป็นจำนวนเต็ม
ชั่วโมงที่ 2
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสมบัติเพิ่มเติมของเลขยกกำลัง
ชั่วโมงที่ 3
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปวิธีการหาคำตอบของเลขยกกำลังที่ใช้สมบัติต่างๆ ของเลขยกกำลัง
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
6.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. กิจกรรมเสนอแนะ
-
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 27

8. บันทึกหลังการสอน
บันทึกหลังการสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน )
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของนักเรียน
บันทึกเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..
ตำแหน่ง…….……..………………………..

9. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 28

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคำถาม
การทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
การใช้ความรู้ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ความสามารถในการใช้ภาษาและสื่อลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
การวางแผน
การกำหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
ความคิดสร้างสรรค์
ผลการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 29

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง การเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้
1) สามารถเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้
2. สาระสำคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
การเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือการเขียนจำนวนใดๆ ให้อยู่ในรูป A  10n เมื่อ
1  A  10 และ n เป็นจำนวนเต็ม
2.2 ทักษะ / กระบวนการ
การคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การคิดคำนวณ
2.3 ทักษะการคิด
ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะ
การให้เหตุผล
3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
1) การทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 17-20
2) แบบฝึกหัด
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2) เลือกหัวหน้ากลุ่ม
3) หัวหน้ากลุ่มแบ่งงาน
4) ร่วมกันจัดทำบัตรกิจกรรม
5) นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
6) ร่วมกันทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
7) ส่งงาน
3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค์
1) ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทำงาน
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 30

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
เกณฑ์ขั้นต่ำ
1) ได้ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป
2) ได้ระดับ “ดี” ขึ้นไป
3) ทำได้ถูกต้อง 80% ขึ้นไป
การสรุปผลการประเมิน
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำ
ชั่วโมงที่ 1
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนจำนวนเต็มที่มีค่ามากเป็นหลักสิบล้าน ร้อยล้าน หรืออื่นว่าถ้า
นักเรียนเขียนจะมีวิธีการเขียนได้อย่างไรให้นักเรียนช่วยกันอธิบาย
ชั่วโมงที่ 2
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ที่เรียนมาในชั่วโมงที่แล้ว
จากนั้นเขียนจำนวน แล้วให้นักเรียนเขียนให้อยู่ในรูปของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
5.2 ขั้นสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงเรื่องของรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ว่านักเรียนรู้จัก ทักษะการคิดวิเคราะห์
หรือไม่ว่าคืออะไร
2. ครูอธิบายคำว่ารูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือการเขียนจำนวนในรูป A  10n
เมื่อ 1  A  10 และ n เป็นจำนวนเต็ม
3. ให้นักเรียนสังเกตการเขียนจำนวนในรูป A  10n เมื่อ 1  A  10 และ n ทักษะการตีความหมาย
เป็นจำนวนเต็ม เช่น

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
4 = 4  1 = 4  100
40 = 4  10 = 4  101
400 = 4  100 = 4  102
4. ให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ ทักษะการคิดสรุปความ
342,000,000 = 3.42000000  10 = 3.42  10
8 8

5. ครูซักถามนักเรียนว่าการเลื่อนจุดเกี่ยวข้องกับเลขชี้กำลังอย่างไร ให้นักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์


อภิปรายจนได้ข้อสรุป จำนวนตำแหน่งที่เลื่อนจุดไปคือจำนวนเดียวกับ
เลขชี้กำลังนั่นเอง
6. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 17 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ทักษะการคิดคำนวณ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 31

7. ให้นักเรียนสังเกตการเขียนจำนวนในรูป A  10n เมื่อ 1  A  10 และ n


เป็นจำนวนเต็ม ดังนี้
4 = 4 = 4  100
0.4 = = 4  10- 1
0.04 = = 4  10- 2
0.004 = = 4  10- 3
8. ให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง 0.00000758 = 000007.58 10- 6 = 7.5810- 6 ทักษะการคิดคำนวณ
เลื่อนจุดไปทางขวา 6 ตำแหน่ง เลขชี้กำลังเป็น -6
9. ให้นักเรียนหาข้อสรุปเกี่ยวกับการเลื่อนจุดจนสรุปได้ว่า จำนวนตำแหน่งที่ ทักษะการคิดคำนวณ
เลื่อนจุดไปทางขวากับจำนวนของตัวเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรงข้ามกัน
10. ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 18 โดยครูกำหนดวันส่ง
ชั่วโมงที่ 2
1. ครูติดแถบโจทย์ปัญหา
ในปี พ.ศ. 2550 บริษัทร่วมมิตร จำกัด มียอดขายสินค้า 6.78107 บาท
บริษัทเสริมสุขภาพ จำกัด มียอดขายสินค้า 8.521106 บาท
(1) บริษัทใดมียอดขายสูงกว่าและสูงกว่าเท่าไร
(2) ทั้งสองบริษัทมียอดขายรวมกันกี่บาท ทักษะการตีความ
ครูใช้การถามตอบและเขียนกระดานดำไปในเวลาเดียวกัน ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการหาคำตอบของโจทย์ตัวอย่าง
เช่น - โจทย์กำหนดจำนวนใดมาให้
กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
- โจทย์ต้องการทราบอะไร
- นักเรียนมีวิธีการหาคำตอบอย่างไร
- ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปวิธีการหาคำตอบของโจทย์นี้
3. ให้นักเรียนไปศึกษาโจทย์อื่นในหนังสือแล้วนำกลับมาเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 20 และแบบฝึกหัด ทักษะการคิดคำนวณ
เป็นการบ้าน โดยครูกำหนดวันและเวลาในการส่ง
5.3 ขั้นสรุป
ชั่วโมงที่ 1
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปลักษณะของการเขียนสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ชั่วโมงที่ 2
ให้นักเรียนช่วยกันสรุปขั้นวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและการเขียนสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
6. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 32

- หนังสือเรียนแม็ค
- กระดาษแข็งติดแทบโจทย์ปัญหา
6.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. กิจกรรมเสนอแนะ
7.1 กิจกรรมส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์
ขั้นรวบรวมข้อมูล
ครูมอบหมายให้นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับตัวเลขในตลาดหลักทรัพย์
ขั้นวิเคราะห์
ให้นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์แล้วเขียนจำนวนเหล่านั้นออกมาเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ขั้นสรุป
ครูตรวจผลงานนักเรียนแต่ละคน พร้อมให้ข้อเสนอแนะแล้วให้หัวหน้าห้องรวบรวมงานทั้งหมด
จัดทำเป็นรูปเล่มรายงาน
ขั้นประยุกต์ใช้
ครูให้นักเรียนช่วยกันเลือกข้อที่น่าสนใจแล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน
7.2 กิจกรรมบูรณาการ
ครูสามารถบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยกำหนดภาระงานให้นักเรียนช่วยกัน
เขียนการ์ตูนเกี่ยวกับเรื่องสมบัติของเลขยกกำลังเป็นการประกวด

ภาระงาน “เขียนการ์ตูนเกี่ยวกับเรื่องสมบัติของเลขยกกำลัง”
ผลการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเขียนและวาดภาพสื่อความหมายสมบัติของเลขยกกำลัง
ผลงานที่ต้องการ การ์ตูนเกี่ยวกับเรื่องสมบัติของเลขยกกำลัง
ขั้นตอนการทำงาน 1. ศึกษาลักษณะการเขียนการ์ตูนต่าง ๆ
2. ศึกษาเรื่องสมบัติของเลขยกกำลัง
3. ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนการ์ตูนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามข้อคิดเห็น
4. คัดเลือกการ์ตูนที่นักเรียนเขียนได้ครอบคลุมเนื้อหาและถูกต้องที่สุดติดป้ ายนิเทศ
และอ่านให้เพื่อนห้องอื่น ๆ ฟัง
เกณฑ์การประเมิน 1. ความถูกต้องในเรื่องสมบัติของเลขยกกำลัง
2. การใช้คำ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 33

8. บันทึกหลังการสอน
บันทึกหลังการสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน )
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของนักเรียน
บันทึกเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………..
ตำแหน่ง…….……..………………………..

9. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 34

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคำถาม
การทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
การใช้ความรู้ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ความสามารถในการใช้ภาษาและสื่อลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ปี ....................
ครั้งที่ .................................................................. ผู้สังเกต
...............................................................................................
ระดับการประเมิน
หัวข้อการประเมิน
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยมาก
การวางแผน
การกำหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
ความคิดสร้างสรรค์
ผลการทำงาน

การประเมินและสะท้อนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
(Self Reflection)
1. การประเมินตนเองของนักเรียน ให้ดำเนินการดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 35

1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรู้ประจำบททุกข้อ ให้นักเรียนได้ทราบ โดยอาจเขียนไว้บนกระดาน พร้อมทั้ง


ทบทวนถึงหัวข้อกิจกรรมการเรียนว่าได้เรียนอะไรบ้าง
1.2 ให้นักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไว้ในสมุดงานด้านหลังตามหัวข้อดังนี้
บันทึกการประเมินและสะท้อนตนเองประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
วัน/เดือน/ปี ที่บันทึก ................ /................ /................
รายการบันทึก
1. จากการเรียนที่ผ่านมาได้มีความรู้อะไรบ้าง
..……………………………………………………………………….……………………………….
..……………………………………………………………………….……………………………….
2. ปัจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดได้แล้วบ้าง
..……………………………………………………………………….……………………………….
..……………………………………………………………………….……………………………….
3. สิ่งที่ยังไม่รู้ ไม่กระจ่าง ไม่เข้าใจ มีอะไรบ้าง
..……………………………………………………………………….………………………………..
..……………………………………………………………………….………………………………..
4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เน้นความภาคภูมิใจจากการเรียนในบทนี้คืออะไร ทำไมจึงภาคภูมิใจ
..……………………………………………………………………….………………………………..
..……………………………………………………………………….………………………………..
2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู
ชื่อเรื่องที่วิจัย …………………………………………………………
1. ความเป็ นมาของปัญหา
สิ่งที่คาดหวัง
................................................................................................................................................…………
..……………………………………………………………………….……………………………….

สิ่งที่เป็นจริง
..................................................................................................................................................................…
..……………………………………………………………………….…………………………………...
ปัญหาที่พบคือ
...............................................................................................................................................…..............….
..……………………………………………………………………….…………………………………...
สาเหตุของปัญหาคือ
..............................................................................................................................................…...............….
..……………………………………………………………………….…………………………………...
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 36

แนวทางการแก้ไขปัญหาคือ
..............................................................................................................................................…................…
..……………………………………………………………………….…………………………………...
2. วัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหา
2.1 เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง ........................................................................................................….. ของนักเรียน
ชั้น .............................. ห้อง ....................... จำนวน ................. คน โดยใช้..........................................
................................................................................................................................................................
2.2 เพื่อศึกษาผลการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ .....................................................................................................

หลังจากที่ได้ทดลองใช้วิธีแก้ปัญหาโดย.....................................................…………………………….
3. ขอบเขตของการแก้ปัญหา
3.1 กลุ่มเป้ าหมายในการแก้ปัญหาคือ นักเรียนชั้น .......................ห้อง .................. จำนวน .................. คน
ในภาคเรียนที่ ....................... ปี การศึกษา ....................... ที่มีปัญหาเกี่ยวกับ .........................................
3.2 เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาคือ เรื่อง ................................. หน่วยการเรียนรู้ที่ ............................................
วิชา..........................................................................................................................................................
3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ ......... สัปดาห์ / เดือน ตั้งแต่วันที่ ....... เดือน ..................... พ.ศ. ........
ถึงวันที่ ........ เดือน .......................... พ.ศ. ............................................
4. วิธีดำเนินการในการแก้ไขปัญหา
4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา คือ...........................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างและพัฒนาดังนี้
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ .............................................................................................
.................................................................................................................................................................
ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างและตรวจสอบคุณภาพดังนี้
...........................................................................................................................................................….
............................................................................................................................................................…
..........................................................................................................................................................…..
4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวิธีการดังนี้
1) นำเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาไปทดลองใช้กับนักเรียนในเวลา ......................................………..
โดย …….............................................................................................................................…………
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
2) นำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ ......................................................................
โดย ……….......................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 37

……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………..
4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล ได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลดังนี้
..........................................................................................................................................................…..
..........................................................................................................................................................…..
..........................................................................................................................................................…..
..........................................................................................................................................................…..
5. ผลการแก้ปัญหา
ผลการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ..............................................................................................................................
ของนักเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ปรากฏผลดังนี้
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.….................................................................................................................................................................

You might also like