ภาพถ่ายหน้าจอ 2566-05-17 เวลา 21.10.30

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

แคล$%สเ(อง+น

!น#ธยม'กษา+, 6
ภาคเ/ยน1 1/2566

ดร.456ย 78ยะเจ8ญ 1
บท# 1: $%ตและความ.อเ1องของ4ง56น
1.1 ความหมายของ*+ตของ-ง./น
ในหัวขอนี้ จะพิจารณาคาของฟงกชัน f ที่มีโดเมนและเรนจเปนสับเซตของจำนวนจริง วามีคาเขาใกลจำนวนจริงใด
ในขณะที่ x เขาใกลจำนวนจริงจำนวนหนึ่ง
พิจารณาคาของฟงกชัน f (x) = x 2 − x + 4 เมื่อ x เขาใกล 2 แต x ≠ 2 ดังนี้

จากตารางที่ 1 จะเห็นวา เมื่อ x (เพิ่มขึ้น) เขาใกล 2 แลว คาของ f (x) จะเขาใกล 6 เชนเดียวกัน เมื่อพิจารณา
ตารางที่ 2 จะเห็นวา เมื่อ x (ลดลง) เขาใกล 2 แลว คาของ f (x) จะเขาใกล 6 เชนกัน (ดูรูปที่ 1 ประกอบ)

สามารถกลาวไดวา “ลิมิตของฟงกชัน f (x) = x 2 − x + 4 เมื่อ x เขาใกล 2 มีคาเทากับ 6” เขียนแทนได


ดวยสัญลักษณ
lim f (x) = 6 หรือ lim (x 2 − x + 4) = 6
x→2 x→2

ดร.34/ย 56ยะเจ6ญ 2
โดยทั่วไป สำหรับฟงกชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจเปนสับเซตของจำนวนจริง ถาคาของ f (x) เขาใกล
จำนวนจริง L เมื่อ x เขาใกล a ทั้งดานซายและดานขวาของ a แลว เราจะเรียก L วา ลิมิตของ f ที่ a
เขียนแทนดวยสัญลักษณ
lim f (x) = L
x→a

และกลาววา lim f (x) มีคาเทากับ L


x→a

บางครั้ง อาจเขียนแทนดวยสัญลักษณ
f (x) → L เมื่อ x→a

1.2 !"ต$ายและ!"ตขวา

โดยทั่วไป สำหรับฟงกชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจเปนสับเซตของจำนวนจริง ถาคาของ f (x) เขาใกล


จำนวนจริง L1 เมื่อ x เขาใกล a ทางดานซาย แลว เราจะเรียก L1 วา ลิมิตซายของ f (x) เมื่อ x เขา
ใกล a ทางดานซาย เขียนแทนดวยสัญลักษณ
lim f (x) = L1
x→a −

ในทางกลับกัน ถาคาของ f (x) เขาใกลจำนวนจริง L 2 เมื่อ x เขาใกล a ทางดานขวา แลว เราจะเรียก L2


วา ลิมิตซายของ f (x) เมื่อ x เขาใกล a ทางดานขวา เขียนแทนดวยสัญลักษณ
lim f (x) = L 2
x→a +

โดยทั่วไป สำหรับฟงกชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจเปนสับเซตของจำนวนจริง


❖ ถา lim− f (x) = lim+ f (x) นั่นคือ L1 = L 2 แลว จะลาววา lim f (x) มีคา และ
x→a x→a x→a

lim f (x) = L1 = L 2
x→a

❖ ถา lim− f (x) ≠ lim f (x) นั่นคือ L1 ≠ L 2 แลว จะลาววา lim f (x) ไมมีคา
x→a x→a + x→a
ดร../0ย 12ยะเจ2ญ 3
ตัวอยาง 1 กำหนดใหกราฟของฟงกชัน f ดังรูป จงหา
1) lim f (x) =
+
x→2

2) lim f (x) =
x→2−

3) lim f (x) =
x→2

4) lim f (x) =
x→−2+

5) lim f (x) =
x→−2−

6) lim f (x) =
x→−2

ตัวอยาง 2 กำหนดใหกราฟของฟงกชัน g ดังรูป จงหา


1) g (0) =
2) lim− g (x) =
x→0

3) lim g (x) =
x→0+

4) lim g (x) =
x→0

5) g (2) =
6) lim g (x) =
x→2+

7) lim g (x) =
x→2−

8) lim g (x) =
x→2

9) lim g (x) =
x→4

ตัวอยาง 3 กำหนดใหกราฟของฟงกชัน h ดังรูป จงหา


1) h (3) =
2) lim− h (x) =
x→2

3) lim h (x) =
x→5+

4) lim h (x) =
x→5−

5) lim h (x) =
x→5

6) h (5) =
7) h (2) =

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 4
1.3 ทฤษ$บทเ'ยว*บ+,ตของ1ง23น

ดร.783ย 9:ยะเจ:ญ 5
ตัวอยาง 4 จงหา
2
x +x −2
1) lim =
x→1 x2 − 1

(x − 2 x + 2 x − 4)
2 1 8
2) lim + − 2 =
x→2

x +1−1
3) lim =
x→0 x

25 − x 2 − 4
4) lim =
x→−3 x +3

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 6
3
x +1−1
5) lim =
x→0 x

1−x−3
6) lim 3
=
x→−8 2+ x

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 7
ตัวอยาง 5 กำหนดให

{ 8 − 2x
x −4 เมื่อ x >4
f (x) =
เมื่อ x<4
จงหา lim f (x)
x→4

ตัวอยาง 6 กำหนดให

{ x −1
x 2 − 4x + 6 เมื่อ x≥2
f (x) =
เมื่อ x<2
จงหา lim f (x)
x→2

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 8
x +1
ตัวอยาง 7 จงหา lim
x→−1 x +1

2x 2 − 3x
ตัวอยาง 8 จงหา lim
x→ 32 2x − 3

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 9
x2 − x − 2
ตัวอยาง 9 จงหา lim 3
x→2− 2− x2 + 4

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 10
x2 − 1
ตัวอยาง 10 จงหา lim
x→1 x3 − 1

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 11
1.4 ความ%อเ(องของ+ง,-น

จากบทนิยาม 1 กลาวไดวา ฟงกชัน f จะเปนฟงกชันตอเนื่องที่ x =c ก็ตอ เมื่อ ฟงกชัน f ตองมีสมบัติครบทั้ง


สามขอ ตอไปนี้
1. f (c) หาคาได (นั่นคือ c อยูในโดเมนของ f )
2. lim f (x) มีคา (นั่นคือ ลิมิตซายเทากับลิมิตขวา lim f (x) = lim f (x) )
x→c x→a − x→a +

3. lim f (x) = f (c) (นั่นคือ คาลิมิตเทากับคาของฟงกชันที่ x =c)


x→c

ตัวอยาง 11 กำหนดให
x2 − 4
เมื่อ x ≠2
f (x) = x−2

3 เมื่อ x =2
จงพิจารณาวา ฟงกชัน f เปนฟงกชันตอเนื่องที่ x =2 หรือไม

ดร.12-ย 45ยะเจ5ญ 12
ตัวอยาง 12 กำหนดให
3
− 2
เมื่อ x ≤−1
2x 2 + x − 1
f (x) = 2(x + 1)
เมื่อ −1< x ≤1
1− x
1−x
เมื่อ x >1

จงพิจารณาวา ฟงกชัน f เปนฟงกชันตอเนื่องที่ x =−1 และ x =1 หรือไม

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 13
ตัวอยาง 13 กำหนดให
− 6x + 4 เมื่อ x <−2
f (x) = a x 2 + bx เมื่อ −2≤ x ≤2
6x − 4 เมื่อ x >2

ถา f เปนฟงกชันตอเนื่องบนเซตจำนวนจริง แลว จงหาคาของ a+b

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 14
ตอไป จะกลาวถึงทฤษฎีบทเกี่ยวกับความตอเนื่องของฟงกชันโดยละการพิสูจนไว ดังตอไปนี้

จากทฤษฎีบท 3 ทำใหไดทฤษฎีบทเกี่ยวกับความตอเนื่องของฟงกชันพหุนาม ดังตอไปนี้

โดยใชทฤษฎีบท 5 และ 6 ทำใหไดทฤษฎีบทเกี่ยวกับความตอเนื่องของฟงกชันตรรกยะ ดังตอไปนี้

ดร.#$%ย '(ยะเจ(ญ 15
ความ%อเ(องบน,วง
ตอไป จะใหความหมายของความตอเนื่องของฟงกชันบนชวงที่กำหนดให ดังนี้

ตัวอยาง 14 กำหนดกราฟของฟงกชัน f, g และ h ดังรูป จงพิจารณาวา f, g และ h เปนฟงกชัน


ตอเนื่องบนชวงที่กำหนดใหหรือไม

[−1,1 ] (−1,1) [ 0,1 ] (−1,0 ]

ดร./01ย 34ยะเจ4ญ 16

You might also like