Papers by Sutida Wimuttikosol
Journal of Human Sciences, 2022
For most literary scholars, the word “reader” is usually associated with an abstract entity on th... more For most literary scholars, the word “reader” is usually associated with an abstract entity on the receiving end of the text, not an actual reader who does the act of reading and assigns meaning to the text based on their own background knowledge and life experiences. As a result, discussions about literature’s social significance are mostly confined to textual analyses made by literary academics and critics, and not extended to considerations of a text’s functioning within the actual site of reception. This paper is part of a case study of the “Read Aloud” book club, which aims at exploring the potential and contribution of reader-oriented literary studies. It presents an empirical study on the relationship between realist writings and the readers’ sense of empathy with the characters. Through the analysis of the club’s discussions, it is found that 1) the “meaning” of a text is cooperatively constructed by the text and its readers within a specific context of reading; 2) realism’s “verisimilitude” plays a crucial role in the readers’ identification with the characters and events in the story; 3) in the book club context where their viewpoints and experiences are freely exchanged, the readers could potentially develop self-reflection and a sense of empathy for racial and class “others” in both the fictional realm and the real world.
MANUSYA
Burmese Days, one of George Orwell’s less well-known works, is often regarded as his personal tes... more Burmese Days, one of George Orwell’s less well-known works, is often regarded as his personal testimony about his traumatic experiences in Burma. Since it portrays the life of a white man living in the colony, the theme of colonialism has been quite exhaustively explored. In contrast, gender issues in the novel have been left almost untouched. This article proposes that Burmese Days does not have only a single plot. Another plot, the patriarchal plot, develops alongside the colonial plot, although more subtly. Through these parallel plots, the interrelation between colonialism and patriarchy, together with the cooperation of the subjects under their domination, is revealed. Besides offering the reader another perspective on Burmese Days, this analysis aims to cast some light on the nature of power. Because the two powers in the novel work interdependently, it can be said that a particular power does not have a “center” within itself. It can be exercised and maintained through other ...
Journal of Human Sciences, 21(2), 46-63., 2020
World literature is an issue of academic inquiry that has been heavily debated at the core of the... more World literature is an issue of academic inquiry that has been heavily debated at the core of the world literary system in the Global North; yet, it seems to be disproportionately discussed in the Global South from where such group of texts in question is assumed to originate. This is not surprising considering that the concept of world literature itself, which could be traced back to the early 19th century, was originally conceived in Europe. One area of study that has been constantly overlooked by academics at the metropole is the reception of world literature at the peripheral sites beyond the North. Despite being circulated globally, this set of texts is usually associated with the white metropolitan readership. This research paper argues that the perspective of the readers at the periphery is crucial to the understanding of the "problem" called world literature and needs to be recognized as part of its interpretive community. Through an empirical study of the Thai readers' responses to Eka Kurniawan's Lelaki Harimau (in English, Man Tiger; In Thai, Sa-ming Sam-dang), it reveals how the reception complicates existing assumptions about world literature's readership as well as its social and cultural significance. Finally, it discusses the way in which texts from the Global South could simultaneously engage the readers beyond national boundary and register the social inequality in a local level.
Drafts by Sutida Wimuttikosol
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023
งานวิจัยชิ้นนี้ นำเสนอการศึกษาผู้อ่านในฐานะ “ผู้เล่น” สำคัญในสนามวรรณกรรมที่มักจะถูกละเลยโดยนักวิ... more งานวิจัยชิ้นนี้ นำเสนอการศึกษาผู้อ่านในฐานะ “ผู้เล่น” สำคัญในสนามวรรณกรรมที่มักจะถูกละเลยโดยนักวิชาการด้านวรรณกรรมศึกษาทั้งในไทยและต่างประเทศ โดยผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลบทสนทนาจากกลุ่มนัดอ่าน “อ่านออกเสียง” (Read Aloud) ซึ่งอ่านวรรณกรรมโลกที่ถูกแปลเป็นภาษาไทยทั้งสิ้น 6 เล่ม
ผลการศึกษาพบว่า ผู้อ่านเข้าถึงตัวบทจากมุมมองของชนชั้นกลางในเมืองที่อาศัยอยู่ในประเทศชายขอบและมีชุดคุณค่าแบบเสรีนิยมเป็นจุดร่วมสำคัญ พวกเขามีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องราวของตัวละครชายขอบเข้ากับผู้อยู่ในสถานะชายขอบของประเทศไทย และเทียบเคียง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตัวบทกับสถานการณ์ภายในประเทศ จากจุดยืนของผู้ที่อยู่ศูนย์กลางในระดับท้องถิ่น งานวรรณกรรมจากต่างชาติ ต่างวัฒธรรม จึงไม่ได้พาผู้อ่านในกลุ่ม “อ่านออกเสียง” เดินทางข้ามวัฒนธรรมไปทำความเข้าใจผู้อื่น (other) มากเท่ากับทำให้ผู้อ่านได้สะท้อนย้อนคิดเกี่ยวกับตนเอง (self)
นอกจากนี้ ข้อมูลการอ่านและการตีความที่หลากหลายยังบ่งชี้ว่า “ความหมาย” ของงานวรรณกรรมไม่ได้ถูกกำหนดไว้อย่างเบ็ดเสร็จตายตัวโดยโครงสร้างภายในตัวบท แต่ถูกสร้างและต่อรองผ่านการปฏิสัมพันธ์อันซับซ้อนระหว่างผู้เล่นหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น ตัวบท ผู้อ่าน นักแปล หรือนักวิชาการ อีกทั้งยังถูกกำกับด้วยบริบทของการอ่านที่มีลักษณะเฉพาะ การทำความเข้าใจ องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวรรณกรรมในฐานะสินค้าทางวัฒนธรรมที่มีชีวิตอยู่ได้ด้วยการถูกเสพและส่งต่อโดยผู้อ่านจริง (actual reader) ทั้งในและนอกโลกวิชาการ
Uploads
Papers by Sutida Wimuttikosol
Drafts by Sutida Wimuttikosol
ผลการศึกษาพบว่า ผู้อ่านเข้าถึงตัวบทจากมุมมองของชนชั้นกลางในเมืองที่อาศัยอยู่ในประเทศชายขอบและมีชุดคุณค่าแบบเสรีนิยมเป็นจุดร่วมสำคัญ พวกเขามีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องราวของตัวละครชายขอบเข้ากับผู้อยู่ในสถานะชายขอบของประเทศไทย และเทียบเคียง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตัวบทกับสถานการณ์ภายในประเทศ จากจุดยืนของผู้ที่อยู่ศูนย์กลางในระดับท้องถิ่น งานวรรณกรรมจากต่างชาติ ต่างวัฒธรรม จึงไม่ได้พาผู้อ่านในกลุ่ม “อ่านออกเสียง” เดินทางข้ามวัฒนธรรมไปทำความเข้าใจผู้อื่น (other) มากเท่ากับทำให้ผู้อ่านได้สะท้อนย้อนคิดเกี่ยวกับตนเอง (self)
นอกจากนี้ ข้อมูลการอ่านและการตีความที่หลากหลายยังบ่งชี้ว่า “ความหมาย” ของงานวรรณกรรมไม่ได้ถูกกำหนดไว้อย่างเบ็ดเสร็จตายตัวโดยโครงสร้างภายในตัวบท แต่ถูกสร้างและต่อรองผ่านการปฏิสัมพันธ์อันซับซ้อนระหว่างผู้เล่นหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น ตัวบท ผู้อ่าน นักแปล หรือนักวิชาการ อีกทั้งยังถูกกำกับด้วยบริบทของการอ่านที่มีลักษณะเฉพาะ การทำความเข้าใจ องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวรรณกรรมในฐานะสินค้าทางวัฒนธรรมที่มีชีวิตอยู่ได้ด้วยการถูกเสพและส่งต่อโดยผู้อ่านจริง (actual reader) ทั้งในและนอกโลกวิชาการ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้อ่านเข้าถึงตัวบทจากมุมมองของชนชั้นกลางในเมืองที่อาศัยอยู่ในประเทศชายขอบและมีชุดคุณค่าแบบเสรีนิยมเป็นจุดร่วมสำคัญ พวกเขามีแนวโน้มเชื่อมโยงเรื่องราวของตัวละครชายขอบเข้ากับผู้อยู่ในสถานะชายขอบของประเทศไทย และเทียบเคียง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตัวบทกับสถานการณ์ภายในประเทศ จากจุดยืนของผู้ที่อยู่ศูนย์กลางในระดับท้องถิ่น งานวรรณกรรมจากต่างชาติ ต่างวัฒธรรม จึงไม่ได้พาผู้อ่านในกลุ่ม “อ่านออกเสียง” เดินทางข้ามวัฒนธรรมไปทำความเข้าใจผู้อื่น (other) มากเท่ากับทำให้ผู้อ่านได้สะท้อนย้อนคิดเกี่ยวกับตนเอง (self)
นอกจากนี้ ข้อมูลการอ่านและการตีความที่หลากหลายยังบ่งชี้ว่า “ความหมาย” ของงานวรรณกรรมไม่ได้ถูกกำหนดไว้อย่างเบ็ดเสร็จตายตัวโดยโครงสร้างภายในตัวบท แต่ถูกสร้างและต่อรองผ่านการปฏิสัมพันธ์อันซับซ้อนระหว่างผู้เล่นหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น ตัวบท ผู้อ่าน นักแปล หรือนักวิชาการ อีกทั้งยังถูกกำกับด้วยบริบทของการอ่านที่มีลักษณะเฉพาะ การทำความเข้าใจ องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวรรณกรรมในฐานะสินค้าทางวัฒนธรรมที่มีชีวิตอยู่ได้ด้วยการถูกเสพและส่งต่อโดยผู้อ่านจริง (actual reader) ทั้งในและนอกโลกวิชาการ