ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ (Dyslexia) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Reading disorder, alexia |
ลายมือของภาวะเสียการอ่านเข้าใจในภาษากรีก | |
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา, กุมารเวชศาสตร์ |
อาการ | ปัญหาในการอ่าน[1] |
การตั้งต้น | วัยเรียน[2] |
ประเภท | Surface dyslexia |
สาเหตุ | พันธุกรรม และ ปัจจัยแวดล้อม[2] |
ปัจจัยเสี่ยง | ประวัติครอบครัว, โรคซนสมาธิสั้น[3] |
วิธีวินิจฉัย | การทดสอบความจำ การสะกดคำ การมองเห็น และการอ่าน[4] |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | ปัญหาการได้ยิน หรือ ปัญหาการมองเห็น, การสอนไม่เพียงพอ[2] |
การรักษา | การปรับวิธีการสอน[1] |
ความชุก | 3–7%[2][5] |
ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ หรือ ภาวะเสียการอ่านรู้ความ[6] หรือภาวะอ่านไม่เข้าใจ[7] (อังกฤษ: dyslexia) เป็นความพิการทางการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาทั้งความคล่องแคล่วและความแม่นยำในการอ่าน การพูด และการสะกดคำ ซึ่งอาจแสดงอาการเป็นความยากลำบากในการรับรู้เสียง การถอดรหัสเสียง การเข้าใจตัวอักษร ความจำเสียงระยะสั้น และ/หรือการเรียกชื่อสิ่งของ ซึ่งไม่เหมือนกันกับภาวะอ่านลำบากที่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่นความพิการทางตาหรือการได้ยินหรือจากการไม่ได้เรียนรู้วิธีอ่านหนังสือ เชื่อว่ามีผู้ที่มีภาวะอ่านไม่เข้าใจอยู่ 5-10% ของประชากรหนึ่งๆ แม้จะยังไม่มีการศึกษาวิจัยหาความชุกที่แท้จริงของภาวะนี้ก็ตาม
สาเหตุ
[แก้]นับตั้งแต่มีการบรรยายภาวะนี้เอาไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1881 มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากที่พยายามหาสาเหตุพื้นฐานทางระบบชีวประสาทของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ[8][9] ตัวอย่างเช่น บางคนพยายามเชื่อมโยงภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นตัวอักษรได้ชัดเจน (ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยอย่างหนึ่งของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ) เข้ากับความผิดปกติในการพัฒนาของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการมองเห็นภาพ เป็นต้น[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Dyslexia Information Page". National Institute of Neurological Disorders and Stroke. 2 November 2018.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 Peterson, Robin L.; Pennington, Bruce F. (May 2012). "Developmental dyslexia". Lancet. 379 (9830): 1997–2007. doi:10.1016/S0140-6736(12)60198-6. PMC 3465717. PMID 22513218.
- ↑ "What are reading disorders?". National Institutes of Health. 1 December 2016.
- ↑ "How are reading disorders diagnosed?". National Institutes of Health. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 15 March 2015.
- ↑ Kooij, J. J. Sandra (2013). Adult ADHD diagnostic assessment and treatment (3rd ed.). London: Springer. p. 83. ISBN 9781447141389. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2016.
- ↑ ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เก็บถาวร 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน พิมพ์คำว่า dyslexia
- ↑ บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.
- ↑ Berkhan O (1917). "Über die Wortblindheit, ein Stammeln im Sprechen und Schreiben, ein Fehl im Lesen" [About word blindness, adyslalia of speech and writing, a weakness in reading]. Neurologisches Centralblatt (ภาษาเยอรมัน). 36: 914–27.
- ↑ Reid, Gavin; Fawcett, Angela; Manis, Frank; Siegel, Linda (2008). The SAGE Handbook of Dyslexia. SAGE Publications. p. 127. ISBN 978-1-84860-037-9. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 มกราคม 2017.
- ↑ Stein, John (2014). "Dyslexia: the Role of Vision and Visual Attention". Current Developmental Disorders Reports. 1 (4): 267–80. doi:10.1007/s40474-014-0030-6. PMC 4203994. PMID 25346883.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]แหล่งข้อมูลห้องสมุดเกี่ยวกับ ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ |
- Dyslexia
- Misunderstood Minds Experience (simulating what dyslexics experience)
การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |