ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลกัส (คณิตศาสตร์)"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ล เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 2: | บรรทัด 2: | ||
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=ตำแหน่งทางคณิตศาสตร์|สำหรับ=|ดูที่=โลคัส (แก้ความกำกวม)}} |
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=ตำแหน่งทางคณิตศาสตร์|สำหรับ=|ดูที่=โลคัส (แก้ความกำกวม)}} |
||
[[ไฟล์:Locus Curve.svg|thumb|right|400px|โลกัสที่ 2 ซม. 4 ซม. 6 ซม. และ 8 ซม. จากเส้นตรง ''l'' ไปยังจุด ''P'' ซึ่งเส้นโค้งเหล่านี้เป็นครึ่งหนึ่งของ[[คอนคอยด์]] (Conchoid of Nichomedes)]] |
[[ไฟล์:Locus Curve.svg|thumb|right|400px|โลกัสที่ 2 ซม. 4 ซม. 6 ซม. และ 8 ซม. จากเส้นตรง ''l'' ไปยังจุด ''P'' ซึ่งเส้นโค้งเหล่านี้เป็นครึ่งหนึ่งของ[[คอนคอยด์]] (Conchoid of Nichomedes)]] |
||
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] ''' |
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] '''โลคัส''' ({{lang-en|locus}} พหูพจน์: loci มาจาก[[ภาษาละติน]]แปลว่า ''สถานที่'') คือการรวบรวม[[จุดทางเรขาคณิต]]ที่มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดร่วมกัน คำนี้มักใช้เป็นเงื่อนไขในการนิยามรูปร่างที่ต่อเนื่องกัน โดยเฉพาะ[[เส้นโค้ง]] (curve) ตัวอย่างเช่น [[เส้นตรง]]คือโลกัสของจุดที่อยู่ในระยะห่างเท่ากับสองจุดที่กำหนดตายตัวไว้ หรือจาก[[เส้นขนาน]]สองเส้น |
||
== ตัวอย่าง == |
== ตัวอย่าง == |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 00:57, 13 พฤศจิกายน 2563
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ในทางคณิตศาสตร์ โลคัส (อังกฤษ: locus พหูพจน์: loci มาจากภาษาละตินแปลว่า สถานที่) คือการรวบรวมจุดทางเรขาคณิตที่มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดร่วมกัน คำนี้มักใช้เป็นเงื่อนไขในการนิยามรูปร่างที่ต่อเนื่องกัน โดยเฉพาะเส้นโค้ง (curve) ตัวอย่างเช่น เส้นตรงคือโลกัสของจุดที่อยู่ในระยะห่างเท่ากับสองจุดที่กำหนดตายตัวไว้ หรือจากเส้นขนานสองเส้น
ตัวอย่าง
[แก้]ภาคตัดกรวยสามารถนิยามได้ด้วยโลกัสดังนี้
- รูปวงกลม คือโลกัสของจุดที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางตามค่าที่กำหนด ซึ่งนั่นคือรัศมี
- รูปวงรี คือโลกัสของจุดที่อยู่ห่างจากผลรวมของระยะทางจากโฟกัสทั้งสองตามค่าที่กำหนด
- ไฮเพอร์โบลา คือโลกัสของจุดที่อยู่ห่างจากผลต่างของระยะทางจากโฟกัสทั้งสองตามค่าที่กำหนด
- พาราโบลา คือโลกัสของจุดที่อยู่ห่างจากโฟกัสและเส้นบังคับ (directrix) เป็นระยะทางเท่ากัน
รูปทรงทางเรขาคณิตอื่นๆ ที่ซับซ้อนอาจสามารถอธิบายได้ด้วยโลกัสของรากของฟังก์ชันหรือพหุนาม ดังนั้นพื้นผิวกำลังสองสามารถนิยามได้เป็นโลกัสของรากของพหุนามกำลังสอง เป็นต้น
ตัวอย่างของรูปทรงที่ซับซ้อนอีกอันหนึ่งที่สามารถสร้างได้จากจุดจุดหนึ่งบนจาน และจานนั้นกลิ้งไปรอบพื้นผิวราบเรียบหรือโค้ง จุดในตำแหน่งต่างๆ ที่ปรากฏทั้งหมดก็คือโลกัส
ดูเพิ่ม
[แก้]- โฟกัส (focus)