ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวยปล้ำอาชีพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 28 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 17 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:The Rock vs John Cena.jpg|250px|thumb|นักมวยปล้ำบนเวทีมวยปล้ำ (ในภาพเป็น [[จอห์น ซีนา]] และ [[ดเวย์น จอห์นสัน|เดอะ ร็อก]])]]
[[ไฟล์:The Rock vs John Cena.jpg|250px|thumb|นักมวยปล้ำบนเวทีมวยปล้ำ (ในภาพเป็น [[จอห์น ซีนา]] และ [[ดเวย์น จอห์นสัน|เดอะ ร็อก]])]]


'''มวยปล้ำอาชีพ''' ({{Lang-en|professional wrestling}}) หมายถึง รูปแบบหนึ่งของกีฬามวยปล้ำที่นักมวยปล้ำได้รับค่าตอบแทน
'''มวยปล้ำอาชีพ'''({{langx|en|professional wrestling}}) หมายถึง รูปแบบหนึ่งของกีฬามวยปล้ำที่นักมวยปล้ำได้รับค่าตอบแทน
มวยปล้ำอาชีพในสมัยใหม่ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะมีการโจมตีคู่ต่อสู้ด้วยการใช้ส่วนแข็งของร่างกาย, การเข้าปะทะ, และการโจมตีคู่ต่อสู้ในแบบอื่นๆ ที่ไม่มีในศาสตร์มวยปล้ำดั้งเดิม
มวยปล้ำอาชีพในสมัยใหม่ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะมีการโจมตีคู่ต่อสู้ด้วยการใช้ส่วนแข็งของร่างกาย, การเข้าปะทะ, และการโจมตีคู่ต่อสู้ในแบบอื่นๆ ที่ไม่มีในศาสตร์มวยปล้ำดั้งเดิม


บรรทัด 12: บรรทัด 12:
== กฎกติกาของมวยปล้ำอาชีพ ==
== กฎกติกาของมวยปล้ำอาชีพ ==
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}
# '''แบบปล้ำเดี่ยว (Single Match) ''' - เป็นกติกาพื้นฐาน และเป็นกติกาหลักของมวยปล้ำอาชีพ นั่นคือ นักมวยปล้ำทั้งสองคน จะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวย โดยใช้การโจมตีด้วยการใช้กำปั้นทุบ, การเตะ, การฟันด้วยสันมือ, การฟันศอก, การตีเข่า, การวิ่งเข้าปะทะ, การเด้งตัวกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้ววิ่งเข้าปะทะ, การเหวี่ยงตัวคู่ต่อสู้ให้ตกเวทีมวย, การเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เด้งกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้วโจมตี หรือ จับทุ่ม หรือเข้าปะทะ, การเหวี่ยงอัดด้วยท่อนแขนหรือท่อนขา, การพุ่งเข้าปะทะจากบนเสามุมเวทีมวย, การกระโดดทับตัวของคู่ต่อสู้และการซ้ำคู่ต่อสู้ด้วยการทิ้งท่อนแขน, ท่อนขา, ศอก, ส่วนท้าย, เข่า, ฝ่าเท้า (จากบนพื้นเวทีหรือจากบนเสามุมเวทีมวยก็ได้) และ การจับทุ่มคู่ต่อสู้ การปล้ำจะจบลงพร้อมผลแพ้ชนะเมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกดไหล่ของนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งที่หงายตัวอยู่ให้แตะติดพื้นบนเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการ "พิน" Pin) จนกระทั่งกรรมการผู้ห้ามเข้ามาแล้วนับ 1 ถึง 3 หากกรรมการนับครบถึงเลข 3 ไปแล้ว ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่ยังคงถูกอีกฝ่ายซึ่งเป็นผู้กดไหล่ กดติดพื้นเวทีมวยอยู่ จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นสำเร็จ การปล้ำก็จะยุติลง และผู้ที่กดไหล่คู่ต่อสู้ได้สำเร็จเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าหากผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นยกตัวหรือยกไหล่ขึ้นมาจากการกดได้ หรือ ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นได้หลุดออกไปจากการกดไหล่ไปก่อนที่กรรมการผู้ห้ามจะนับได้ถึงเลข 3 ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นยังไม่สำเร็จ และจะต้องต่อสู้กันไปจนกว่าจะสามารถกดไหล่อีกฝ่ายได้สำเร็จ อีกหนึ่งวิธีการเอาชนะคือการล็อกหรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถใช้ท่าล็อกที่จะขัดขวางการเคลื่อนไหวของอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้อีกฝ่ายแสดงสัญญาณการขอยอมแพ้ โดยกรรมการจะเข้าไปถามว่า ยอมแพ้ไหม? (Give up?) หากฝ่ายที่ถูกล็อกแสดงการยอมจำนนโดยการตบพื้น หรือ แตะส่วนของร่างกายที่ถูกล็อก กรรมการจะหยุดการปล้ำ และให้ฝ่ายที่ใช้ท่าล็อก เป็นผู้ชนะทันที ผู้ถูกใช้ท่าล็อกสามารถดิ้นออกจากล็อก เพื่อหลบหนีออกจากการถูกล็อกได้ หรือ เข้าไปจับเชือกกั้นเวทีมวยเพื่อ "โรพ เบรก" (Rope Break) ให้คู่ต่อสู้หยุดใช้ท่าล็อกได้ ในขณะที่มีการใช้ท่าล็อก, การรัดตัว, หรือการกดไหล่ หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบจากการถูกใช้ท่าล็อก, ถูกรัดตัว, หรือถูกกดไหล่ สามารถเข้าไปจับหรือสัมผัสเชือกกั้นเวทีมวยได้ จะถือว่าเป็นการ "โรพ เบรก" (Rope Break) นักมวยปล้ำที่เป็นฝ่ายได้เปรียบจะต้องผละตัวออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบให้ความได้เปรียบของทั้งสองฝ่ายเสมอตัวกันและดำเนินการปล้ำต่อไป มิเช่นนั้น กรรมการผู้ห้ามจะเตือนนักมวยปล้ำฝ่ายที่ได้เปรียบให้ผละออกจากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบ และจะนับหนึ่งถึงห้าเพื่อให้เวลาฝ่ายที่ได้เปรียบผละออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบ หากยังไม่ผละออกก็จะถูกปรับแพ้ หากมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกลงไปจากเวทีหรือเดินลงไปจากเวทีทั้งๆ ที่การแข่งขันยังไม่มีผลแพ้ชนะ กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เป็นการนับให้นักมวยปล้ำกลับขึ้นมาเมื่อออกจากเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการนับ "ริง เอาท์ เคาท์" Ring Out Count) (ในบางการแข่งขันก็จะนับ 1 ถึง 20) เพื่อให้เวลานักมวยปล้ำที่ตกลงไปจากเวทีได้กลับขึ้นมา หากไม่กลับขึ้นมาเมื่อครบจำนวนตัวเลขที่ทางกรรมการผู้ห้ามได้นับ ก็จะถูกปรับแพ้ นักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีจะชนะทันที หากกลับขึ้นมา การปล้ำก็จะถูกดำเนินต่อไป จนกระทั่งมีผลแพ้ชนะ หากนักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายลงไปต่อสู้กันด้านล่างเวทีมวย แม้จะไม่ถือว่าผิดกติกา แต่กรรมการก็จะนับให้กลับขึ้นเวทีมวย เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายกลับขึ้นมา หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยก่อนกลับขึ้นมา แล้วอีกฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังไม่ขึ้นมา กรรมการจะเริ่มการนับใหม่ เพื่อให้ฝ่ายที่ลงเวทีมวยทีหลังได้ขึ้นมา แต่หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปก่อนยังไม่ขึ้น แต่ฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังขึ้นมาก่อน กรรมการจะนับให้กลับขึ้นเวทีมวยไปจนถึงที่ได้กำหนดไว้ หากไม่กลับขึ้นมาก็จะแพ้ทันที หากทั้งสองฝ่ายล้มลงนอนบนเวทีทั้งคู่ ไม่ว่าจะสาเหตุใดก็ตาม กรรมการจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้มีเวลาลุกขึ้นมา เมื่อนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งลุกขึ้นมาแล้ว กรรมการผู้ห้ามจึงจะหยุดนับและให้ดำเนินการปล้ำต่อไปจนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ หากไม่ลุกขึ้นมาทั้งคู่ กรรมการผู้ห้ามจะยุติการแข่งขัน และจะให้ผลออกมาเสมอกัน หากลุกขึ้นมาทั้งคู่ การปล้ำก็จะดำเนินต่อไป จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะออกมา การกดไหล่เอาชนะด้านล่างเวทีมวยนั้นกรรมการจะไม่นับให้ ต้องกดไหล่กันบนเวทีมวยเท่านั้น กรรมการถึงจะนับ 1 ถึง 3 และตัดสินผลแพ้ชนะได้ ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ เช่นเดียวกับการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ การยอมแพ้ของคู่ต่อสู้จะเป็นผลการปล้ำได้ก็ต่อเมื่ออยู่ด้านบนเวทีมวยเท่านั้น ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ ส่วนการนำเอาสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยและการนำอาวุธระยะประชิดมาใช้บนเวทีมวยนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกา (หากการปล้ำไม่ได้เป็นแบบที่ใช้อาวุธบนเวทีมวยได้) ผู้ที่ใช้อาวุธเข้าโจมตีคู่ต่อสู้บนเวทีมวยจะถูกปรับแพ้ และให้ผู้ที่ถูกโจมตีด้วยอาวุธเป็นฝ่ายชนะไป การนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธและการใช้อาวุธระยะประชิดชนิดใดก็ตามจะต้องกระทำ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวยเท่านั้น จึงจะทำได้ (ในบางสมาคมมวยปล้ำอาชีพก็ไม่มีการอนุญาตให้ใช้อาวุธทั้งด้านบนและด้านล่างเวทีมวย) ส่วนการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัดนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำในการต่อสู้แบบมวยปล้ำอาชีพ แม้จะไม่ได้ถือว่าเป็นเรื่องผิดกติกาอย่างร้ายแรง แต่กรรมการผู้ห้ามจะพูดเตือนให้นักมวยปล้ำหยุดยั้งการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัด หรือพยายามเข้าระงับการใช้หมัดชกคู่ต่อสู้อย่างต่อเนื่องของนักมวยปล้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะเป็นหมัดจากที่ตัวผู้ใช้ลอยอยู่กลางอากาศ จึงจะไม่ใช่เรื่องผิดกติกา เช่น หมัดจากท่า "ซูเปอร์แมนพันช์ (Superman Punch)" หรือ การกระโดดทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ เป็นต้น การทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ (หรือที่เรียกว่า "ฟิสต์ดร็อป (Fist Drop)") นั้นไม่ผิดกติกา ส่วนการโจมตีส่วนของร่างกายบริเวณ"ใต้เข็มขัด"ของนักมวยปล้ำเพศชายโดยตรงนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกาอย่างยิ่ง หากการปล้ำครั้งนั้นไม่ได้มีกติกาที่อนุญาตให้โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"โดยตรงได้ นักมวยปล้ำผู้ที่โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"ของคู่ต่อสู้โดยตรงจะถูกปรับแพ้ (อย่างไรก็ตาม การโจมตีด้วยท่าอย่าง อะตอมมิค ดรอป แบบกลับด้าน หรือ "อินเวอร์เต็ด อะตอมมิค ดรอป (Inverted Atomic Drop)" นั้น ถือว่าเป็นท่าทุ่มแบบหนึ่ง ไม่ได้ถือว่าผิดกติกาแต่อย่างใด)
# '''แบบปล้ำเดี่ยว (Single Match) ''' - เป็นกติกาพื้นฐาน และเป็นกติกาหลักของมวยปล้ำอาชีพ นั่นคือ นักมวยปล้ำทั้งสองคน จะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวย โดยใช้การโจมตีด้วยการใช้กำปั้นทุบ, การเตะ, การฟันด้วยสันมือ, การฟันศอก, การตีเข่า, การวิ่งเข้าปะทะ, การเด้งตัวกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้ววิ่งเข้าปะทะ, การเหวี่ยงตัวคู่ต่อสู้ให้ตกเวทีมวย, การเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เด้งกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้วโจมตี หรือ จับทุ่ม หรือเข้าปะทะ, การเหวี่ยงอัดด้วยท่อนแขนหรือท่อนขา, การพุ่งเข้าปะทะจากบนเสามุมเวทีมวย, การกระโดดทับตัวของคู่ต่อสู้และการซ้ำคู่ต่อสู้ด้วยการทิ้งท่อนแขน, ท่อนขา, ศอก, ส่วนท้าย, เข่า, ฝ่าเท้า (จากบนพื้นเวทีหรือจากบนเสามุมเวทีมวยก็ได้) และ การจับทุ่มคู่ต่อสู้ การปล้ำจะจบลงพร้อมผลแพ้ชนะเมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกดไหล่ของนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งที่หงายตัวอยู่ให้แตะติดพื้นบนเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการ "พิน (Pin)") จนกระทั่งกรรมการผู้ห้ามเข้ามาแล้วนับ 1 ถึง 3 หากกรรมการนับครบถึงเลข 3 ไปแล้ว ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่ยังคงถูกอีกฝ่ายซึ่งเป็นผู้กดไหล่ กดติดพื้นเวทีมวยอยู่ จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นสำเร็จ การปล้ำก็จะยุติลง และผู้ที่กดไหล่คู่ต่อสู้ได้สำเร็จเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าหากผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นยกตัวหรือยกไหล่ขึ้นมาจากการกดได้ หรือ ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นได้หลุดออกไปจากการกดไหล่ไปก่อนที่กรรมการผู้ห้ามจะนับได้ถึงเลข 3 ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นยังไม่สำเร็จ และจะต้องต่อสู้กันไปจนกว่าจะสามารถกดไหล่อีกฝ่ายได้สำเร็จ อีกหนึ่งวิธีการเอาชนะคือการล็อกหรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถใช้ท่าล็อกที่จะขัดขวางการเคลื่อนไหวของอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้อีกฝ่ายแสดงสัญญาณการขอยอมแพ้ โดยกรรมการจะเข้าไปถามว่า ยอมแพ้ไหม? ("กิฟอัพ? (Give up?)") หากฝ่ายที่ถูกล็อกแสดงการยอมจำนนโดยการตบพื้นอย่างต่อเนื่อง หรือ แตะส่วนของร่างกายที่ถูกล็อกอย่างต่อเนื่อง (ในภาษาอังกฤษจะเรียกว่าเป็นการ "แท็ป เอาต์ (Tap Out)") กรรมการผู้ห้ามจะหยุดการปล้ำ และให้ฝ่ายที่ใช้ท่าล็อก เป็นผู้ชนะทันที ในกรณีที่ผู้ถูกล็อกต้องการยอมจำนนแต่ไม่สามารถแสดงการยอมจำนนโดยการตบพื้นอย่างต่อเนื่องหรือแตะส่วนของร่างกายที่ถูกล็อกอย่างต่อเนื่องได้ ผู้ถูกล็อกสามารถกล่าวขอยอมจำนนกับกรรมการผู้ห้ามด้วยวาจาให้กรรมการผู้ห้ามรับทราบได้ หากผู้ถูกล็อกเกิดสลบไปในระหว่างที่อยู่ในท่าล็อกของผู้ใช้ท่าล็อก ซึ่งทำให้ไม่สามารถโต้ตอบกับกรรมการผู้ห้ามได้ กรรมการผู้ห้ามสามารถยุติการปล้ำ และผู้ที่ใช้ท่าล็อกจะเป็นผู้ชนะน็อกไปในทันที ผู้ถูกใช้ท่าล็อกสามารถดิ้นออกจากล็อก เพื่อหลบหนีออกจากการถูกล็อกได้ หรือ เข้าไปจับเชือกกั้นเวทีมวยเพื่อ "โรพ เบรก" (Rope Break) ให้คู่ต่อสู้หยุดใช้ท่าล็อกได้ ในขณะที่มีการใช้ท่าล็อก, การรัดตัว, หรือการกดไหล่ หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบจากการถูกใช้ท่าล็อก, ถูกรัดตัว, หรือถูกกดไหล่ สามารถเข้าไปจับหรือสัมผัสเชือกกั้นเวทีมวยได้ จะถือว่าเป็นการ "โรพ เบรก" (Rope Break) นักมวยปล้ำที่เป็นฝ่ายได้เปรียบจะต้องผละตัวออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบให้ความได้เปรียบของทั้งสองฝ่ายเสมอตัวกันและดำเนินการปล้ำต่อไป มิเช่นนั้น กรรมการผู้ห้ามจะเตือนนักมวยปล้ำฝ่ายที่ได้เปรียบให้ผละออกจากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบ และจะนับหนึ่งถึงห้าเพื่อให้เวลาฝ่ายที่ได้เปรียบผละออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบ หากยังไม่ผละออกก็จะถูกปรับแพ้ หากมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกลงไปจากเวทีหรือเดินลงไปจากเวทีทั้งๆ ที่การแข่งขันยังไม่มีผลแพ้ชนะ กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เป็นการนับให้นักมวยปล้ำกลับขึ้นมาเมื่อออกจากเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการนับ "ริง เอาท์ เคาท์" Ring Out Count) (ในบางการแข่งขันก็จะนับ 1 ถึง 20) เพื่อให้เวลานักมวยปล้ำที่ตกลงไปจากเวทีได้กลับขึ้นมา หากไม่กลับขึ้นมาเมื่อครบจำนวนตัวเลขที่ทางกรรมการผู้ห้ามได้นับ ก็จะถูกปรับแพ้ นักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีจะชนะทันที หากกลับขึ้นมา การปล้ำก็จะถูกดำเนินต่อไป จนกระทั่งมีผลแพ้ชนะ หากนักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายลงไปต่อสู้กันด้านล่างเวทีมวย แม้จะไม่ถือว่าผิดกติกา แต่กรรมการก็จะนับให้กลับขึ้นเวทีมวย เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายกลับขึ้นมา หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยก่อนกลับขึ้นมา แล้วอีกฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังไม่ขึ้นมา กรรมการจะเริ่มการนับใหม่ เพื่อให้ฝ่ายที่ลงเวทีมวยทีหลังได้ขึ้นมา แต่หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปก่อนยังไม่ขึ้น แต่ฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังขึ้นมาก่อน กรรมการจะนับให้กลับขึ้นเวทีมวยไปจนถึงที่ได้กำหนดไว้ หากไม่กลับขึ้นมาก็จะแพ้ทันที หากทั้งสองฝ่ายล้มลงนอนบนเวทีทั้งคู่ ไม่ว่าจะสาเหตุใดก็ตาม กรรมการจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้มีเวลาลุกขึ้นมา เมื่อนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งลุกขึ้นมาแล้ว กรรมการผู้ห้ามจึงจะหยุดนับและให้ดำเนินการปล้ำต่อไปจนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ หากไม่ลุกขึ้นมาทั้งคู่ กรรมการผู้ห้ามจะยุติการแข่งขัน และจะให้ผลออกมาเสมอกัน หากลุกขึ้นมาทั้งคู่ การปล้ำก็จะดำเนินต่อไป จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะออกมา การกดไหล่เอาชนะด้านล่างเวทีมวยนั้นกรรมการจะไม่นับให้ ต้องกดไหล่กันบนเวทีมวยเท่านั้น กรรมการถึงจะนับ 1 ถึง 3 และตัดสินผลแพ้ชนะได้ ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ เช่นเดียวกับการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ การยอมแพ้ของคู่ต่อสู้จะเป็นผลการปล้ำได้ก็ต่อเมื่ออยู่ด้านบนเวทีมวยเท่านั้น ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ ส่วนการนำเอาสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยและการนำอาวุธระยะประชิดมาใช้บนเวทีมวยนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกา (หากการปล้ำไม่ได้เป็นแบบที่ใช้อาวุธบนเวทีมวยได้) ผู้ที่ใช้อาวุธเข้าโจมตีคู่ต่อสู้บนเวทีมวยจะถูกปรับแพ้ และให้ผู้ที่ถูกโจมตีด้วยอาวุธเป็นฝ่ายชนะไป การนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธและการใช้อาวุธระยะประชิดชนิดใดก็ตามจะต้องกระทำ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวยเท่านั้น จึงจะทำได้ (ในบางสมาคมมวยปล้ำอาชีพก็ไม่มีการอนุญาตให้ใช้อาวุธทั้งด้านบนและด้านล่างเวทีมวย) ส่วนการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัดนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำในการต่อสู้แบบมวยปล้ำอาชีพ แม้จะไม่ได้ถือว่าเป็นเรื่องผิดกติกาอย่างร้ายแรง แต่กรรมการผู้ห้ามจะพูดเตือนให้นักมวยปล้ำหยุดยั้งการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัด หรือพยายามเข้าระงับการใช้หมัดชกคู่ต่อสู้อย่างต่อเนื่องของนักมวยปล้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะเป็นหมัดจากที่ตัวผู้ใช้ลอยอยู่กลางอากาศ จึงจะไม่ใช่เรื่องผิดกติกา เช่น หมัดจากท่า "ซูเปอร์แมนพันช์ (Superman Punch)" หรือ การกระโดดทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ เป็นต้น การทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ (หรือที่เรียกว่า "ฟิสต์ดร็อป (Fist Drop)") นั้นไม่ผิดกติกา ส่วนการโจมตีส่วนของร่างกายบริเวณ"ใต้เข็มขัด"ของนักมวยปล้ำเพศชายโดยตรงนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกาอย่างยิ่ง หากการปล้ำครั้งนั้นไม่ได้มีกติกาที่อนุญาตให้โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"โดยตรงได้ นักมวยปล้ำผู้ที่โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"ของคู่ต่อสู้โดยตรงจะถูกปรับแพ้ (อย่างไรก็ตาม การโจมตีด้วยท่าอย่าง อะตอมมิค ดรอป แบบกลับด้าน หรือ "อินเวอร์เต็ด อะตอมมิค ดรอป (Inverted Atomic Drop)" นั้น ถือว่าเป็นท่าทุ่มแบบหนึ่ง ไม่ได้ถือว่าผิดกติกาแต่อย่างใด)
'''2. แบบแท็กทีม (Tag Team Match) ''' - นักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายจะต้องมาแบบทีม หนึ่งทีมจะมี 2 คน นักมวยปล้ำทั้งสองทีมต้องส่งตัวแทน 1 คน ไปต่อสู้กับตัวแทนอีก 1 คน ของฝ่ายตรงข้าม ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย ส่วนอีกคนหนึ่งจะต้องยืนเกาะเชือกเวทีมวยไว้ เพื่อรอเปลี่ยนตัวบริเวณด้านข้างมุมเสาเวทีมวยอยู่ทางด้านนอก การที่อีกคนหนึ่งจะเข้าไปต่อสู้ได้นั้น จะต้องถูกแตะมือ หรือถูกสัมผัสโดยนักมวยปล้ำร่วมทีมของตัวเองที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อน (เรียกว่าเป็นการ "แท็ก (Tag)") จึงจะเข้าไปสู้แทนได้ ส่วนนักมวยปล้ำผู้ร่วมทีมที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อนหน้านี้ เมื่อได้เข้าไปแตะมือ หรือสัมผัสตัวของผู้ร่วมทีมอีกคนหนึ่งซึ่งกำลังยืนเกาะเชือกเวทีมวยเพื่อรอเปลี่ยนตัวแล้ว ก็จะต้องไปยืนเกาะเชือกเวทีมวยรออยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยทางด้านนอกแทน (แต่ก็ยังสามารถอยู่ภายในบริเวณลานต่อสู้ก่อนได้ เพียงชั่วขณะหนึ่ง) จนกว่าจะถูกแตะมือหรือถูกสัมผัสโดยผู้ร่วมทีมของตัวเองที่เข้าไปต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้แทน จึงจะเข้าไปสู้อีกได้ ทั้งสองทีมจะต่อสู้กันรูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ ผลแพ้ชนะของการปล้ำจะตัดสินแบบเป็นทีม ทีมที่ชนะคือทีมที่นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของทีมสามารถเอาชนะนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของอีกฝ่ายไปได้ ส่วนกติกาหลักของการปล้ำแบบแท็กทีมก็เป็นกติกามวยปล้ำอาชีพแบบพื้นฐาน เอาชนะกันด้วยการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นกัน ในการปล้ำแบบแท็กทีม นักมวยปล้ำในทีมที่ได้รับการเปลี่ยนตัวเข้ามาต่อสู้ในลานบนเวทีมวยแล้วสามารถจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ได้ และนักมวยปล้ำที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ก็สามารถโจมตีนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามได้ ณ จุดที่รอเปลี่ยนตัวอยู่หรือในบริเวณด้านนอกเวทีมวย สำหรับการปล้ำแบบแท็กทีมในรูปแบบที่มีจำนวนสมาชิกในทีมมากกว่าสองคน นักมวยปล้ำจะแท็กผู้ร่วมทีมเพื่อเปลี่ยนตัวให้ผู้ร่วมทีมของตนที่ได้รอเปลี่ยนตัวอยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยด้านนอกนั้นเข้ามาต่อสู้แทนกันได้หนึ่งครั้งการแท็กต่อผู้ร่วมทีมหนึ่งคนในทีมเท่านั้น
'''2. แบบแท็กทีม (Tag Team Match) ''' - นักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายจะต้องมาแบบทีม หนึ่งทีมจะมี 2 คน นักมวยปล้ำทั้งสองทีมต้องส่งตัวแทน 1 คน ไปต่อสู้กับตัวแทนอีก 1 คน ของฝ่ายตรงข้าม ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย ส่วนอีกคนหนึ่งจะต้องยืนเกาะเชือกเวทีมวยไว้ เพื่อรอเปลี่ยนตัวบริเวณด้านข้างมุมเสาเวทีมวยอยู่ทางด้านนอก การที่อีกคนหนึ่งจะเข้าไปต่อสู้ได้นั้น จะต้องถูกแตะมือ หรือถูกสัมผัสโดยนักมวยปล้ำร่วมทีมของตัวเองที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อน (เรียกว่าเป็นการ "แท็ก (Tag)") จึงจะเข้าไปสู้แทนได้ ส่วนนักมวยปล้ำผู้ร่วมทีมที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อนหน้านี้ เมื่อได้เข้าไปแตะมือ หรือสัมผัสตัวของผู้ร่วมทีมอีกคนหนึ่งซึ่งกำลังยืนเกาะเชือกเวทีมวยเพื่อรอเปลี่ยนตัวแล้ว ก็จะต้องไปยืนเกาะเชือกเวทีมวยรออยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยทางด้านนอกแทน (แต่ก็ยังสามารถอยู่ภายในบริเวณลานต่อสู้ก่อนได้ เพียงชั่วขณะหนึ่ง) จนกว่าจะถูกแตะมือหรือถูกสัมผัสโดยผู้ร่วมทีมของตัวเองที่เข้าไปต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้แทน จึงจะเข้าไปสู้อีกได้ ทั้งสองทีมจะต่อสู้กันรูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ ผลแพ้ชนะของการปล้ำจะตัดสินแบบเป็นทีม ทีมที่ชนะคือทีมที่นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของทีมสามารถเอาชนะนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของอีกฝ่ายไปได้ ส่วนกติกาหลักของการปล้ำแบบแท็กทีมก็เป็นกติกามวยปล้ำอาชีพแบบพื้นฐาน เอาชนะกันด้วยการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นกัน ในการปล้ำแบบแท็กทีม นักมวยปล้ำในทีมที่ได้รับการเปลี่ยนตัวเข้ามาต่อสู้ในลานบนเวทีมวยแล้วสามารถจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ได้ และนักมวยปล้ำที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ก็สามารถโจมตีนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามได้ ณ จุดที่รอเปลี่ยนตัวอยู่หรือในบริเวณด้านนอกเวทีมวย สำหรับการปล้ำแบบแท็กทีมในรูปแบบที่มีจำนวนสมาชิกในทีมมากกว่าสองคน นักมวยปล้ำจะแท็กผู้ร่วมทีมเพื่อเปลี่ยนตัวให้ผู้ร่วมทีมของตนที่ได้รอเปลี่ยนตัวอยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยด้านนอกนั้นเข้ามาต่อสู้แทนกันได้หนึ่งครั้งการแท็กต่อผู้ร่วมทีมหนึ่งคนในทีมเท่านั้น


บรรทัด 30: บรรทัด 30:


'''4. แบบ แฮนดิแคป (Handicap Match) ''' - เป็นการปล้ำในแบบที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายมีจำนวนคนไม่เท่ากัน เช่น ฝ่ายหนึ่งมีเพียงคนเดียว แต่อีกฝ่ายมีสองคน, ฝ่ายหนึ่งมีสองคน แต่อีกฝ่ายมีสามคน, หรือฝ่ายหนึ่งมีสามคน แต่อีกฝ่ายมีจำนวนคนมากกว่า เป็นต้น การปล้ำแบบแฮนดิแคปมีทั้งแบบที่นักมวยปล้ำทั้งหมดต่อสู้กันบนเวทีมวย และการปล้ำที่นักมวยปล้ำคนเดียวเจอกับนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่มาแบบแท็กทีมหรือปล้ำแบบแท็กทีมในแบบที่จำนวนสมาชิกของแต่ละทีมไม่เท่ากัน
'''4. แบบ แฮนดิแคป (Handicap Match) ''' - เป็นการปล้ำในแบบที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายมีจำนวนคนไม่เท่ากัน เช่น ฝ่ายหนึ่งมีเพียงคนเดียว แต่อีกฝ่ายมีสองคน, ฝ่ายหนึ่งมีสองคน แต่อีกฝ่ายมีสามคน, หรือฝ่ายหนึ่งมีสามคน แต่อีกฝ่ายมีจำนวนคนมากกว่า เป็นต้น การปล้ำแบบแฮนดิแคปมีทั้งแบบที่นักมวยปล้ำทั้งหมดต่อสู้กันบนเวทีมวย และการปล้ำที่นักมวยปล้ำคนเดียวเจอกับนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่มาแบบแท็กทีมหรือปล้ำแบบแท็กทีมในแบบที่จำนวนสมาชิกของแต่ละทีมไม่เท่ากัน

'''5. การปล้ำแบบให้ยอมจำนน (Submission Match) -''' เป็นการปล้ำในแบบที่การล็อกคู่ต่อสู้หรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ คือหนทางเดียวสำหรับการเป็นผู้ชนะ


== กติกาการปล้ำแบบพิเศษในมวยปล้ำอาชีพ ==
== กติกาการปล้ำแบบพิเศษในมวยปล้ำอาชีพ ==
#'''การปล้ำแบบไม่มีสังเวียนจำกัด (Falls Count Anywhere Match)''' - มักเรียกว่าเป็นการปล้ำแบบการต่อสู้ข้างถนน หรือ แบบสตรีตไฟต์ (Street Fight) เป็นการปล้ำในรูปแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวย ด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นั่นหมายความว่า นอกจากด้านบนเวทีมวยแล้ว การปล้ำในรูปแบบนี้สามารถดำเนินไปได้ทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธเพื่อโจมตีคู่ต่อสู้ในระยะประชิดได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย สิ่งของที่มักจะถูกนำมาเป็นอาวุธ เช่น เก้าอี้พับ, โต๊ะไม้, ขั้นบันไดเหล็ก, บันไดปีน, ถังขยะโลหะและฝาของถังขยะ, ไมโครโฟน, ระฆังมวย, ค้อนเคาะระฆังมวย, ไม้เบสบอล, ไม้เคนโด้, ฯลฯ (ซึ่งสิ่งที่นักมวยปล้ำมักนำขึ้นมาเป็นอาวุธนั้นจะเป็นอุปกรณ์ที่ถูกออกแบบมาอย่างดีเพื่อใช้ในการแสดงเท่านั้น และมีการซักซ้อมการแสดงการต่อสู้กันมาเป็นอย่างดีแล้ว) การปล้ำในรูปแบบนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำจะต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว แต่ในบางครั้ง ก็มีการนำกติการูปแบบนี้ไปผสมกับการปล้ำแท็กทีมแบบธรรมดา เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ไม่มีสังเวียนจำกัด
#'''การปล้ำแบบไม่มีสังเวียนจำกัด (Falls Count Anywhere Match)''' - มักเรียกว่าเป็นการปล้ำแบบการต่อสู้ข้างถนน หรือ แบบสตรีตไฟต์ (Street Fight) เป็นการปล้ำในรูปแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวย ด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นั่นหมายความว่า นอกจากด้านบนเวทีมวยแล้ว การปล้ำในรูปแบบนี้สามารถดำเนินไปได้ทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธเพื่อโจมตีคู่ต่อสู้ในระยะประชิดได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย สิ่งของที่มักจะถูกนำมาเป็นอาวุธ เช่น เก้าอี้พับ, โต๊ะไม้, ขั้นบันไดเหล็ก, บันไดปีน, ถังขยะโลหะและฝาของถังขยะ, ไมโครโฟน, ระฆังมวย, ค้อนเคาะระฆังมวย, ไม้เบสบอล, ไม้เคนโด้, ฯลฯ (ซึ่งสิ่งที่นักมวยปล้ำมักนำขึ้นมาเป็นอาวุธนั้นจะเป็นอุปกรณ์ที่ถูกออกแบบมาอย่างดีเพื่อใช้ในการแสดงเท่านั้น และมีการซักซ้อมการแสดงการต่อสู้กันมาเป็นอย่างดีแล้ว) การปล้ำในรูปแบบนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำจะต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว แต่ในบางครั้ง ก็มีการนำกติการูปแบบนี้ไปผสมกับการปล้ำแท็กทีมแบบธรรมดา เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ไม่มีสังเวียนจำกัด


'''2. การปล้ำแบบ ทอร์นาโด แท็กทีม (Tornado Tag Team Match)''' - เป็นการปล้ำแบบตะลุมบอนเป็นทีม นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะมาแบบเป็นทีม แต่ละทีมมีจำนวนสมาชิกเท่าๆกัน และเข้าตะลุมบอนทีมฝ่ายตรงข้ามเพื่อชัยชนะที่จะมีให้เพียงทีมเดียว นักมวยปล้ำทุกฝ่ายในการปล้ำรูปแบบนี้สามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ และสามารถเอาชนะทีมฝ่ายตรงข้ามด้วยการกดไหล่สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามยอมแพ้ได้ในบริเวณด้านบนเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก
'''2. การปล้ำแบบใช้บันไดปีน (Ladder Match) ''' - เป็นการปล้ำที่มีวิธีการเอาชนะคู่ต่อสู้อยู่วิธีเดียวเท่านั้น คือการปีนบันไดขึ้นไปเก็บสิ่งของสำคัญบางอย่างที่ทางผู้จัดห้อยไว้เหนือเวทีมวยลงมา (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเข็มขัดแชมป์) ไม่สามารถใช้การกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ บันไดปีนสามารถนำมาใช้เป็นอาวุธช่วยต่อสู้ และตามกติกาที่บันทึกไว้ นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของอื่นๆมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้บันไดปีนได้ นักมวยปล้ำสามารถใช้บันได้ปีนโจมตีคู่ต่อสู้ได้ทั้งบนและล่างเวทีมวย และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย สำหรับบันไดปีนที่นักมวยปล้ำจะได้ใช้ในการปล้ำรูปแบบนี้นั้น มักจะถูกตั้งหรือพับไว้อยู่ด้านล่างเวทีมวย เมื่อการปล้ำเริ่มขึ้น นักมวยปล้ำจะไปหยิบและนำขึ้นมาใช้ด้วยตนเอง ปัจจุบัน ในการปล้ำรูปแบบนี้ จะมีบันไดปีนให้นักมวยปล้ำใช้มากกว่าสองตัวขึ้นไป การปล้ำแบบใช้บันไดปีนเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยวและแบบหลายคน ทั้งแบบที่นักมวยปล้ำต่างฝ่ายหลายคนตะลุมบอนกันเองเพื่อปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญแต่เพียงผู้เดียว และแบบเป็นทีมเข้าตะลุมบอนทีมตรงข้ามเพื่อให้สมาชิกในทีมของตนปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญลงมาให้กับทางทีม


'''3. การปล้ำในกรงเหล็ก (Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำที่จะมีกำแพงตาข่ายเหล็กมาวางล้อมรอบเวทีมวยไว้ตลอดทั้งสี่ทิศ ซึ่งนั่นเรียกว่าเป็น "กรงเหล็ก" นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งถูกล้อมรอบด้วยกำแพงตาข่ายเหล็กเวทีนั้น นักมวยปล้ำที่สามารถปีนข้าม "กรงเหล็ก" ให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยได้เป็นฝ่ายแรกก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะได้ด้วยการนำตัวเองออกมาจากเวทีมวยผ่านทางประตูของกรงเหล็กให้เท้าทั้งสองข้างลงมาสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีได้ก่อนคู่ต่อสู้เพื่อเป็นฝ่ายชนะ และในอีกหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ด้วยการกดไหล่นับสาม และ การใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบทั่วไป อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่แล้ว หลักของการเอาชนะคู่ต่อสู้ในการปล้ำในกรงเหล็กเช่นนี้ คือการออกมาจากกรงเหล็กลงมาให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยให้ได้ก่อนคู่ต่อสู้ การปล้ำในกรงเหล็กอนุญาตให้นักมวยปล้ำใช้สิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยเป็นอาวุธได้ การปล้ำในกรงเหล็กเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำต่อสู้กันตัวต่อตัวในกรงเหล็ก และการปล้ำในรูปแบบที่มีจำนวนนักมวยปล้ำในการปล้ำหนึ่งครั้งมากกว่าสองคน เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม เป็นต้น
'''3. การปล้ำในกรงเหล็ก (Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำที่จะมีกำแพงตาข่ายเหล็กมาวางล้อมรอบเวทีมวยไว้ตลอดทั้งสี่ทิศ ซึ่งนั่นเรียกว่าเป็น "กรงเหล็ก" นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งถูกล้อมรอบด้วยกำแพงตาข่ายเหล็กเวทีนั้น นักมวยปล้ำที่สามารถปีนข้าม "กรงเหล็ก" ให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยได้เป็นฝ่ายแรกก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะได้ด้วยการนำตัวเองออกมาจากเวทีมวยผ่านทางประตูของกรงเหล็กให้เท้าทั้งสองข้างลงมาสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีได้ก่อนคู่ต่อสู้เพื่อเป็นฝ่ายชนะ และในอีกหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ด้วยการกดไหล่นับสาม และ การใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบทั่วไป อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่แล้ว หลักของการเอาชนะคู่ต่อสู้ในการปล้ำในกรงเหล็กเช่นนี้ คือการออกมาจากกรงเหล็กลงมาให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยให้ได้ก่อนคู่ต่อสู้ การปล้ำในกรงเหล็กอนุญาตให้นักมวยปล้ำใช้สิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยเป็นอาวุธได้ การปล้ำในกรงเหล็กเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำต่อสู้กันตัวต่อตัวในกรงเหล็ก และการปล้ำในรูปแบบที่มีจำนวนนักมวยปล้ำในการปล้ำหนึ่งครั้งมากกว่าสองคน เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม เป็นต้น

'''3.1 แบบแท็กทีมในกรงเหล็ก (Tag Team Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมธรรมดาที่อยู่ภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งที่ได้รับสิทธิ์ (หรือได้รับการ "แท็ก") ให้เข้ามาต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย หากสามารถปีนออกจากกรงเหล็กหรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนคู่ต่อสู้ เขาและผู้ร่วมทีมของเขาก็จะเป็นทีมที่ชนะ
'''3.1 แบบแท็กทีมในกรงเหล็ก (Tag Team Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมธรรมดาที่อยู่ภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งที่ได้รับสิทธิ์ (หรือได้รับการ "แท็ก") ให้เข้ามาต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย หากสามารถปีนออกจากกรงเหล็กหรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนคู่ต่อสู้ เขาและผู้ร่วมทีมของเขาก็จะเป็นทีมที่ชนะ

'''3.2 แบบทอร์นาโด แท็กทีม ในกรงเหล็ก (Tornado Tag Team Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำแบบทีมตะลุมบอนภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ ทีมใดที่สมาชิกทั้งหมดปีนออกมาจากกรงเหล็กได้หรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนทีมฝ่ายตรงข้าม ก็จะเป็นทีมที่ชนะ
'''3.2 แบบทอร์นาโด แท็กทีม ในกรงเหล็ก (Tornado Tag Team Steel Cage Match) ''' - เป็นการปล้ำแบบทีมตะลุมบอนภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ ทีมใดที่สมาชิกทั้งหมดปีนออกมาจากกรงเหล็กได้หรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนทีมฝ่ายตรงข้าม ก็จะเป็นทีมที่ชนะ


'''4. การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" (Hell in a Cell Match) ''' - เป็นการปล้ำในกรงเหล็กแบบมีเพดาน นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องเริ่มต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งมีกรงเหล็กแบบมีเพดานอยู่ด้านบน ในการปล้ำแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นักมวยปล้ำสามารถออกไปต่อสู้กันภายนอกกรงเหล็กได้ โดยจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ นักมวยปล้ำยังสามารถขึ้นไปต่อสู้กันบนเพดานของกรงเหล็กนี้ได้อีกด้วย ผลแพ้ชนะนั้นจะมาจากการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้จากด้านบนเวทีมวยเท่านั้น แต่ในบางการแข่งขัน ผลแพ้ชนะของการปล้ำสามารถมาจากการต่อสู้บนเพดานของกรงเหล็กได้ นั่นหมายความว่า ในบางการแข่งขัน นักมวยปล้ำสามารถกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ที่บนเพดานของกรงเหล็ก การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นั้น เป็นที่รู้จักจาก สมาคมมวยปล้ำอาชีพ เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (World Wrestling Entertainment) หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE)
'''4. การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" (Hell in a Cell Match) ''' - เป็นการปล้ำในกรงเหล็กแบบมีเพดาน นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องเริ่มต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งมีกรงเหล็กแบบมีเพดานอยู่ด้านบน ในการปล้ำแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นักมวยปล้ำสามารถออกไปต่อสู้กันภายนอกกรงเหล็กได้ โดยจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ นักมวยปล้ำยังสามารถขึ้นไปต่อสู้กันบนเพดานของกรงเหล็กนี้ได้อีกด้วย ผลแพ้ชนะนั้นจะมาจากการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้จากด้านบนเวทีมวยเท่านั้น แต่ในบางการแข่งขัน ผลแพ้ชนะของการปล้ำสามารถมาจากการต่อสู้บนเพดานของกรงเหล็กได้ นั่นหมายความว่า ในบางการแข่งขัน นักมวยปล้ำสามารถกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ที่บนเพดานของกรงเหล็ก การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นั้น เป็นที่รู้จักจาก สมาคมมวยปล้ำอาชีพ เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (World Wrestling Entertainment) หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE)


'''5. การปล้ำแบบใช้บันไดปีน (Ladder Match) ''' - เป็นการปล้ำที่มีวิธีการเอาชนะคู่ต่อสู้อยู่วิธีเดียวเท่านั้น คือการปีนบันไดขึ้นไปเก็บสิ่งของสำคัญบางอย่างที่ทางผู้จัดห้อยไว้เหนือเวทีมวยลงมา (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเข็มขัดแชมป์) ไม่สามารถใช้การกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ บันไดปีนสามารถนำมาใช้เป็นอาวุธช่วยต่อสู้ และนักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของอื่นๆมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้บันไดปีนได้ นักมวยปล้ำสามารถใช้บันได้ปีนโจมตีคู่ต่อสู้ได้ทั้งบนและล่างเวทีมวย และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย สำหรับบันไดปีนที่นักมวยปล้ำจะได้ใช้ในการปล้ำรูปแบบนี้นั้น มักจะถูกตั้งหรือพับไว้อยู่ด้านล่างเวทีมวย เมื่อการปล้ำเริ่มขึ้น นักมวยปล้ำจะไปหยิบและนำขึ้นมาใช้ด้วยตนเอง ปัจจุบัน ในการปล้ำรูปแบบนี้ มักจะมีบันไดปีนให้นักมวยปล้ำใช้มากกว่าสองตัวขึ้นไป การปล้ำแบบใช้บันไดปีนเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยวและแบบหลายคน ทั้งแบบที่นักมวยปล้ำต่างฝ่ายหลายคนตะลุมบอนกันเองเพื่อปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญแต่เพียงผู้เดียว และแบบเป็นทีมเข้าตะลุมบอนทีมตรงข้ามเพื่อให้สมาชิกในทีมของตนปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญลงมาให้กับทางทีม
'''5. การปล้ำแบบ "ไอ ควิท" ("I Quit" Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องเข้าต่อสู้ให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดอาการบาดเจ็บมากที่สุด จนกระทั่งมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกกับกรรมการผู้ห้าม หรือ บอกกับผู้ชมผ่านไมโครโฟนว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิท (I quit.)" ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นการแสดงการยอมจำนนและมอบชัยชนะให้กับนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งไปในทันที การปล้ำแบบ ไอ ควิท นั้น ไม่มีการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับสามเพื่อเอาชนะ มีเพียงการแสดงการยอมจำนนจากคู่ต่อสู้ด้วยการพูดคำว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิท (I quit.)" เท่านั้น แต่ก็จะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างของเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้


'''6. การปล้ำแบบ "ไอ ควิต" ("I Quit" Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องเข้าต่อสู้ให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดอาการบาดเจ็บมากที่สุด จนกระทั่งมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกกับกรรมการผู้ห้าม หรือ บอกกับผู้ชมผ่านไมโครโฟนว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิต (I quit.)" ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นการแสดงการยอมจำนนและมอบชัยชนะให้กับนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งไปในทันที การปล้ำแบบ ไอ ควิท นั้น ไม่มีการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับสามเพื่อเอาชนะ มีเพียงการแสดงการยอมจำนนจากคู่ต่อสู้ด้วยการพูดคำว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิต (I quit.)" เท่านั้น แต่ก็จะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างของเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้
'''6. การปล้ำแบบใช้โต๊ะ (Tables Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมากับตัวของคู่ต่อสู้ เช่น การทุ่มฝ่ายตรงข้ามลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การวางคู่ต่อสู้นอนลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ แล้วกระโดดเข้าซ้ำคู่ต่อสู้ที่นอนอยู่บนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การพาดโต๊ะไม้ไว้ที่มุมเสาเวที แล้วเหวี่ยงหรือเข้าปะทะคู่ต่อสู้ให้เข้าไปชนกับโต๊ะไม้ที่พาดไว้ ให้โต๊ะไม้หักครึ่งลงมาเป็นสองท่อน เป็นต้น นักมวยปล้ำฝ่ายใดที่พิชิตอีกฝ่ายได้ด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งนี้ก็จะเป็นผู้ชนะ สำหรับโต๊ะไม้ที่ใช้ในการปล้ำแบบใช้โต๊ะนี้ จะเป็นโต๊ะไม้แบบพิเศษสำหรับใช้ในการปล้ำ ซึ่งทางผู้จัดจะได้จัดไว้ให้ ตั้งแต่สองถึงสามตัวขึ้นไป และจะถูกตั้งหรือพับไว้ด้านล่างเวทีมวย การปล้ำแบบใช้โต๊ะจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย ไม่มีการเอาชนะกันด้วยการกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถนำโต๊ะไม้เหล่านั้นขึ้นมาเป็นอาวุธช่วยต่อสู้ได้ทั้งด้านบนและล่างเวทีมวย นั่นหมายความว่า นักมวยปล้ำสามารถพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้เพื่อเป็นฝ่ายชนะได้ในทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย สิ่งของอื่นๆสามารถนำมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้โต๊ะได้ การปล้ำแบบใช้โต๊ะเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว, แบบตะลุมบอนกันเองหลายคน, และแบบเป็นทีม


'''7. การปล้ำแบบ "ลัมเบอร์แจ็ค" (Lumberjack Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายปล้ำกันแบบปกติบนเวทีมวย เอาชนะกันด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม และการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบธรรมดาทั่วไป แต่บริเวณด้านล่างเวทีมวย จะมีกลุ่มนักมวยปล้ำอยู่กลุ่มหนึ่งที่มีหน้าที่หลักคือการจับตัวนักมวยปล้ำที่หล่นลงจากบนเวทีมวยลงมา เพื่อส่งนักมวยปล้ำคนนั้นกลับขึ้นไปบนเวทีมวยในช่วงระหว่างการปล้ำ ตำแหน่งของนักมวยปล้ำกลุ่มนี้ เรียกว่า "คนตัดไม้" หรือ "เดอะ ลัมเบอร์แจ็คส์" (The Lumberjacks) หากเป็นนักมวยปล้ำหญิง จะเรียกว่าเป็น เดอะ ลัมเบอร์จิลส์ (The Lumberjills) ในหลายครั้ง นักมวยปล้ำกลุ่มนี้จะมีฝ่ายกับนักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีมวย และจะประจำตำแหน่งอยู่คนละฟากด้านล่างเวทีมวย เมื่อนักมวยปล้ำฝ่ายที่พวกเขาและเธอช่วยเหลือนั้นตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะพยุงขึ้นและส่งกลับขึ้นไปบนเวทีมวย พวกเขาและเธอยังสามารถเข้าไปขัดขวางหรือห้ามกลุ่มนักมวยปล้ำของฝ่ายตรงข้ามไม่ให้เข้าโจมตีนักมวยปล้ำของฝ่ายตนเองที่ตกลงมาจากเวทีมวย ในทางกลับกัน หากเป็นนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่ตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะรุมเข้าโจมตีก่อนจะส่งนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามกลับขึ้นไปบนเวทีมวย ในบางครั้ง นักมวยปล้ำบางคนในกลุ่มก็ทำการจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่อยู่บนเวทีมวย ซึ่งไม่ได้ถือว่าผิดกติกาในการปล้ำรูปแบบนี้ การปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็คมีทั้งแบบการปล้ำธรรมดาและแบบที่สามารถใช้อาวุธบนเวทีมวยได้ และในบางครั้ง ก็มีการนำกติกาของมวยปล้ำอาชีพบางรูปแบบอื่นๆมาผสมกับการปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็ค เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม นำมาเป็น การปล้ำแบบแท็กทีมที่มีกลุ่มลัมเบอร์แจ็ค เป็นต้น
'''7. การปล้ำแบบ "ลัมเบอร์แจ็ค" (Lumberjack Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายปล้ำกันแบบปกติบนเวทีมวย เอาชนะกันด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม และการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบธรรมดาทั่วไป แต่บริเวณด้านล่างเวทีมวย จะมีกลุ่มนักมวยปล้ำอยู่กลุ่มหนึ่งที่มีหน้าที่หลักคือการจับตัวนักมวยปล้ำที่หล่นลงจากบนเวทีมวยลงมา เพื่อส่งนักมวยปล้ำคนนั้นกลับขึ้นไปบนเวทีมวยในช่วงระหว่างการปล้ำ ตำแหน่งของนักมวยปล้ำกลุ่มนี้ เรียกว่า "คนตัดไม้" หรือ "เดอะ ลัมเบอร์แจ็คส์" (The Lumberjacks) หากเป็นนักมวยปล้ำหญิง จะเรียกว่าเป็น เดอะ ลัมเบอร์จิลส์ (The Lumberjills) ในหลายครั้ง นักมวยปล้ำกลุ่มนี้จะมีฝ่ายกับนักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีมวย และจะประจำตำแหน่งอยู่คนละฟากด้านล่างเวทีมวย เมื่อนักมวยปล้ำฝ่ายที่พวกเขาและเธอช่วยเหลือนั้นตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะพยุงขึ้นและส่งกลับขึ้นไปบนเวทีมวย พวกเขาและเธอยังสามารถเข้าไปขัดขวางหรือห้ามกลุ่มนักมวยปล้ำของฝ่ายตรงข้ามไม่ให้เข้าโจมตีนักมวยปล้ำของฝ่ายตนเองที่ตกลงมาจากเวทีมวย ในทางกลับกัน หากเป็นนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่ตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะรุมเข้าโจมตีก่อนจะส่งนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามกลับขึ้นไปบนเวทีมวย ในบางครั้ง นักมวยปล้ำบางคนในกลุ่มก็ทำการจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่อยู่บนเวทีมวย ซึ่งไม่ได้ถือว่าผิดกติกาในการปล้ำรูปแบบนี้ การปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็คมีทั้งแบบการปล้ำธรรมดาและแบบที่สามารถใช้อาวุธบนเวทีมวยได้ และในบางครั้ง ก็มีการนำกติกาของมวยปล้ำอาชีพบางรูปแบบอื่นๆมาผสมกับการปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็ค เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม นำมาเป็น การปล้ำแบบแท็กทีมที่มีกลุ่มลัมเบอร์แจ็ค เป็นต้น


'''8. การปล้ำแบบใช้โต๊ะ (Tables Match) ''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมากับตัวของคู่ต่อสู้ เช่น การทุ่มฝ่ายตรงข้ามลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การวางคู่ต่อสู้นอนลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ แล้วกระโดดเข้าซ้ำคู่ต่อสู้ที่นอนอยู่บนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การพาดโต๊ะไม้ไว้ที่มุมเสาเวที แล้วเหวี่ยงหรือเข้าปะทะคู่ต่อสู้ให้เข้าไปชนกับโต๊ะไม้ที่พาดไว้ ให้โต๊ะไม้หักครึ่งลงมาเป็นสองท่อน เป็นต้น นักมวยปล้ำฝ่ายใดที่พิชิตอีกฝ่ายได้ด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งนี้ก็จะเป็นผู้ชนะ สำหรับโต๊ะไม้ที่ใช้ในการปล้ำแบบใช้โต๊ะนี้ จะเป็นโต๊ะไม้แบบพิเศษสำหรับใช้ในการปล้ำ ซึ่งทางผู้จัดจะได้จัดไว้ให้ ตั้งแต่สองถึงสามตัวขึ้นไป และจะถูกตั้งหรือพับไว้ด้านล่างเวทีมวย การปล้ำแบบใช้โต๊ะจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย ไม่มีการเอาชนะกันด้วยการกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถนำโต๊ะไม้เหล่านั้นขึ้นมาเป็นอาวุธช่วยต่อสู้ได้ทั้งด้านบนและล่างเวทีมวย นั่นหมายความว่า นักมวยปล้ำสามารถพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้เพื่อเป็นฝ่ายชนะได้ในทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย สิ่งของอื่นๆสามารถนำมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้โต๊ะได้ การปล้ำแบบใช้โต๊ะเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว, แบบตะลุมบอนกันเองหลายคน, และแบบเป็นทีม
'''8. การปล้ำแบบ ทอร์นาโด แท็กทีม (Tornado Tag Team Match)''' - เป็นการปล้ำแบบตะลุมบอนเป็นทีม นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะมาแบบเป็นทีม แต่ละทีมมีจำนวนสมาชิกเท่าๆกัน และเข้าตะลุมบอนทีมฝ่ายตรงข้ามเพื่อชัยชนะที่จะมีให้เพียงทีมเดียว นักมวยปล้ำทุกฝ่ายในการปล้ำรูปแบบนี้สามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ และสามารถเอาชนะทีมฝ่ายตรงข้ามด้วยการกดไหล่สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามยอมแพ้ได้ในบริเวณด้านบนเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก


'''9. การปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" ("Last Man Standing" Match)''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องเข้าต่อสู้ฝ่ายตรงข้ามจนกระทั่งฝ่ายตรงข้ามล้มลงและไม่สามารถลุกขึ้นมายืนและต่อสู้ต่อได้ เมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งล้มลงไป กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง ให้นักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปได้ลุกขึ้นมา หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปไม่สามารถยืนอยู่กับพื้นหรือกลับขึ้นมาต่อสู้ต่อในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับให้ลุกขึ้น นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยังสามารถยืนอยู่กับพื้นได้ก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในการปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" นี้ ก็มีวิธีการตัดสินผลแพ้ชนะคล้ายกับการตัดสินการชนะน็อกในกีฬามวยสากลและมวยไทยนั่นเอง ในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนเวทีมวยและด้านล่างเวทีมวย โดยที่กรรมการผู้ห้ามจะไม่นับให้ขึ้นเวทีมวย และนักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก
'''9. การปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" ("Last Man Standing" Match)''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องเข้าต่อสู้ฝ่ายตรงข้ามจนกระทั่งฝ่ายตรงข้ามล้มลงและไม่สามารถลุกขึ้นมายืนและต่อสู้ต่อได้ เมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งล้มลงไป กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง ให้นักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปได้ลุกขึ้นมา หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปไม่สามารถยืนอยู่กับพื้นหรือกลับขึ้นมาต่อสู้ต่อในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับให้ลุกขึ้น นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยังสามารถยืนอยู่กับพื้นได้ก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในการปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" นี้ ก็มีวิธีการตัดสินผลแพ้ชนะคล้ายกับการตัดสินการชนะน็อกในกีฬามวยสากลและมวยไทยนั่นเอง ในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนเวทีมวยและด้านล่างเวทีมวย โดยที่กรรมการผู้ห้ามจะไม่นับให้ขึ้นเวทีมวย และนักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก
บรรทัด 54: บรรทัด 58:
'''10. การปล้ำแบบ เท็กซัส เดธ แมทช์ (Texas Death Match)''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องผ่านขั้นตอนการเอาชนะอย่างต่อเนื่องกันทั้งหมดสองขั้นตอนจึงจะเป็นผู้ชนะ ขั้นตอนแรกคือการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งจนถึงสามหรือล็อกคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ เมื่อกดไหล่คู่ต่อสู้จนกรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือคู่ต่อสู้ยอมแพ้จากการล็อกแล้ว ก็จะผ่านขั้นตอนแรก และเข้าสู่ขั้นตอนที่สองทันที นั่นคือการปล่อยให้คู่ต่อสู้คนนั้นกลับขึ้นมายืนอยู่กับพื้น ซึ่งหากคู่ต่อสู้นั้นไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยืนหยัดอยู่ก็จะผ่านขั้นตอนที่สองซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายสำหรับชนะในการปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ และเป็นฝ่ายชนะ นักมวยปล้ำฝ่ายใดก็ตามที่ยังไม่สามารถผ่านขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งได้สำเร็จ ก็จะต้องดำเนินการปล้ำต่อไปและเริ่มต้นผ่านจากขั้นตอนแรกใหม่อีกครั้ง จนสามารถผ่านทั้งสองขั้นตอนอย่างต่อเนื่องกันได้สำเร็จ จึงจะเป็นฝ่ายชนะ การปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ ไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ และสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก
'''10. การปล้ำแบบ เท็กซัส เดธ แมทช์ (Texas Death Match)''' - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องผ่านขั้นตอนการเอาชนะอย่างต่อเนื่องกันทั้งหมดสองขั้นตอนจึงจะเป็นผู้ชนะ ขั้นตอนแรกคือการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งจนถึงสามหรือล็อกคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ เมื่อกดไหล่คู่ต่อสู้จนกรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือคู่ต่อสู้ยอมแพ้จากการล็อกแล้ว ก็จะผ่านขั้นตอนแรก และเข้าสู่ขั้นตอนที่สองทันที นั่นคือการปล่อยให้คู่ต่อสู้คนนั้นกลับขึ้นมายืนอยู่กับพื้น ซึ่งหากคู่ต่อสู้นั้นไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยืนหยัดอยู่ก็จะผ่านขั้นตอนที่สองซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายสำหรับชนะในการปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ และเป็นฝ่ายชนะ นักมวยปล้ำฝ่ายใดก็ตามที่ยังไม่สามารถผ่านขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งได้สำเร็จ ก็จะต้องดำเนินการปล้ำต่อไปและเริ่มต้นผ่านจากขั้นตอนแรกใหม่อีกครั้ง จนสามารถผ่านทั้งสองขั้นตอนอย่างต่อเนื่องกันได้สำเร็จ จึงจะเป็นฝ่ายชนะ การปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ ไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ และสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก


'''11. การปล้ำแบบ ชู้ต เรสต์ลิง (Shoot Wrestling Match)''' - เป็นการปล้ำที่ถอดรูปแบบกติกาส่วนหนึ่งมาจากกีฬาศิลปะการต่อสู้แบบผสม (หรือที่เรียกว่า "มิกซ์มาร์เชียล อาร์ต (Mixed Martial Arts)" หรือ "เอ็มเอ็มเอ (MMA)") มาใช้เป็นหลัก ซึ่งจะมีเพียงสองหนทางหลักสำหรับเอาชนะฝ่ายตรงข้ามในการปล้ำรูปแบบนี้ คือ การปล้ำหรือโจมตีคู่ต่อสู้เพื่อพิชิตให้ล้มลงไปจนไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลางให้ลุกขึ้นมา และ การล็อกคู่ต่อสู้ให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ ไม่มีการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยนับหนึ่งจนถึงสาม การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการออกแบบให้มีกลิ่นไอของกีฬาต่อสู้ให้มากที่สุด จึงทำให้โดยทั่วไปแล้ว การปล้ำรูปแบบนี้จะเน้นดำเนินอยู่บนเวทีมวย ผลการปล้ำจะมาจากการเอาชนะบนเวทีมวยเท่านั้น และไม่มีการนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธในการปล้ำ การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการคิดค้นและพัฒนาในประเทศญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 เป็นที่รู้จักในวงกว้างและได้รับความนิยมผ่านสมาคมมวยปล้ำอาชีพ ที่มีชื่อว่า ยูนิเวอร์แซล เรสต์ลิง เฟเดอเรชัน (Universal Wrestling Federation) หรือ ยูดับเบิลยูเอฟ (UWF) จากประเทศญี่ปุ่น แม้ในปัจจุบัน สมาคมมวยปล้ำอาชีพ ยูดับเบิลยูเอฟ ได้ปิดตัวลงไปแล้ว แต่ก็ยังคงมีสมาคมมวยปล้ำอาชีพแห่งอื่นๆที่มีการปล้ำแบบชู้ตเรสต์ลิง ในบางครั้ง ก็มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก
'''11. การปล้ำแบบ ชู้ต เรสต์ลิง (Shoot Wrestling Match)''' - เป็นการปล้ำที่จะมีสองหนทางหลักสำหรับการเป็นผู้ชนะ คือ การปล้ำหรือโจมตีคู่ต่อสู้เพื่อพิชิตให้ล้มลงไปจนไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลางให้ลุกขึ้นมา และ การล็อกคู่ต่อสู้หรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำฝ่ายใดที่สามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้โดยทางใดทางหนึ่งก็จะเป็นฝ่ายชนะ ไม่มีการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยนับหนึ่งจนถึงสาม การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการออกแบบให้มีกลิ่นไอของกีฬาต่อสู้ให้มากที่สุด จึงทำให้โดยทั่วไปแล้ว การปล้ำรูปแบบนี้จะเน้นดำเนินอยู่บนเวทีมวย ผลการปล้ำจะมาจากการเอาชนะบนเวทีมวยเท่านั้น และไม่มีการนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธในการปล้ำ การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการคิดค้นและพัฒนาในประเทศญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 เป็นที่รู้จักในวงกว้างและได้รับความนิยมผ่านสมาคมมวยปล้ำอาชีพ ที่มีชื่อว่า ยูนิเวอร์แซล เรสต์ลิง เฟเดอเรชัน (Universal Wrestling Federation) หรือ ยูดับเบิลยูเอฟ (UWF) จากประเทศญี่ปุ่น แม้ในปัจจุบัน สมาคมมวยปล้ำอาชีพ ยูดับเบิลยูเอฟ ได้ปิดตัวลงไปแล้ว แต่ก็ยังคงมีสมาคมมวยปล้ำอาชีพแห่งอื่นๆที่นำการปล้ำแบบชู้ตเรสต์ลิงไปใช้ต่อ และอาจมีการดัดแปลงรูปแบบกติกาให้แตกต่างไปจากเดิมเพื่อให้มีเอกลักษณ์หรือความแปลกใหม่ในการรับชมสำหรับผู้รับชม ในบางครั้ง ก็มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมผสานกับการปล้ำแบบแท็กทีมธรรมดา รวมไปถึงการปล้ำในกรงเหล็ก

'''12. การปล้ำแบบชิงธง (Flag Match) -''' เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะมีผืนธงของฝ่ายตนเองอยู่ที่มุมตรงข้ามของเวทีมวย นักมวยปล้ำจะต้องฝ่าฟันการโจมตีหรือการขัดขวางจากคู่ต่อสู้ เพื่อไปนำผืนธงของฝ่ายตนเองมาถือไว้ให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยเห็น หรือโบกสะบัดผืนธงของฝ่ายตนเองให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยเห็น จึงจะเป็นผู้ชนะ


== มวยปล้ำอาชีพในประเทศไทย ==
== มวยปล้ำอาชีพในประเทศไทย ==
มวยปล้ำอาชีพเข้ามาแพร่ภาพใน[[ประเทศไทย]] ทาง [[โทรทัศน์]] ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2530, ทางเคเบิลทีวี และทาง [[วิดีโอ]]และ[[วีซีดี]] โดยผู้ที่บรรยายเทปมวยปล้ำอาชีพคนแรกในเมือง[[ไทย]] ได้แก่ [[เจือ จักษุรักษ์]] ต่อมามวยปล้ำอาชีพกลับมาเป็นที่นิยมในช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2540 โดยส่วนหนึ่งมาจากการบรรยายของ [[สุวัฒน์ กลิ่นเกษร]] หรือที่รู้จักกันในผู้ชมมวยปล้ำอาชีพในนาม "น้าติง"
มวยปล้ำอาชีพเข้ามาแพร่ภาพใน[[ประเทศไทย]] ทาง [[โทรทัศน์]] ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2530, ทางเคเบิลทีวี และทาง [[วิดีโอ]]และ[[วีซีดี]] โดยผู้ที่บรรยายเทปมวยปล้ำอาชีพคนแรกในเมือง[[ไทย]] ได้แก่ [[เจือ จักษุรักษ์]] ต่อมามวยปล้ำอาชีพกลับมาเป็นที่นิยมในช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2540 โดยส่วนหนึ่งมาจากการบรรยายของ [[สุวัฒน์ กลิ่นเกษร]] หรือที่รู้จักกันในผู้ชมมวยปล้ำอาชีพในนาม "น้าติง"


สำหรับสมาคมมวยปล้ำอาชีพในไทยนั้น เคยมีชาวต่างชาติจัดตั้งค่ายมวยปล้ำอาชีพเกิดขึ้นในไทยในทศวรรษ 1990 ในชื่อค่าย '''"ไทย เรสต์ลิง เฟดเดอเรชั่น (Thai Wrestling Federation - TWF)'''<ref>{{Cite web|title=[มนุษย์มวยปล้ำ] 'Thai Wrestling Federation' (TWF) สมาคมมวยปล้ำแห่งแรก? ของประเทศไทย|url=https://www.blockdit.com/posts/5c77d57611ea080ffd8f8891|website=www.blockdit.com}}</ref> โดยจัดการปล้ำในพัทยา แต่ก็เป็นแค่ในระยะสั้นๆ จนในปี 2555 เอมิ ซากุระ (Emi Sakura) นักมวยปล้ำอาชีพหญิงชาวญี่ปุ่น ได้ก่อตั้งสมาคมมวยปล้ำอาชีพ นามว่า '''"กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง" (Gatoh Move Pro Wrestling<ref>https://www.facebook.com/GatohMoveProWrestling/</ref>)''' ในประเทศไทย พร้อมทั้งฝึกสอนนักมวยปล้ำชาวไทย และจัดการแสดงมวยปล้ำเป็นระยะ
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีสมาคมมวยปล้ำอาชีพ ชื่อว่า "กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง" (Gatoh Move Pro Wrestling) เป็นสมาคมของ เอมิ ซากุระ (Emi Sakura) นักมวยปล้ำอาชีพหญิงชาวญี่ปุ่น สมาคมนี้ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร

ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2562 กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง ยุติการดำเนินงานในประเทศไทย หลังจากนั้นก็ได้เกิดสมาคมมวยปล้ำที่แยกตัวออกมาหลังจากการยุติกิจการของกาโตห์ มูฟ ประเทศไทย 2 สมาคม ดังนี้

# '''เซทอัพ ไทยแลนด์ โปรเรสต์ลิง (Setup Thailand Pro Wrestling)''' ดำเนินงานโดยปรัชญ์ภูมิ บุญทัต - อดีตผู้จัดการทั่วไปของกาโตห์ มูฟ ประเทศไทย และปักษา - อดีตแชมป์ One And Only ของกาโตห์มูฟ ประเทศไทย
# '''ท๊อป โดโจ - ไทยแลนด์ ออริจินัล โปรเรสต์ลิง (TOP Dojo - Thailand Origin Pro Wrestling)''' ดำเนินงานโดยแท็กทีม "แบด คอมปานี" (ฺBad Company) อันประกอบด้วย "พี-นัทซ์" (P-Nutz) และ "โกเล็ม ไทย" (Golem Thai) อดีตแชมป์ Southeast Asia Tag Team ของสมาคม SPW ประเทศสิงคโปร์


== รายชื่อบางส่วนของสมาคมมวยปล้ำอาชีพที่มีชื่อเสียง ==
== รายชื่อบางส่วนของสมาคมมวยปล้ำอาชีพที่มีชื่อเสียง ==
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากสหรัฐอเมริกา'''
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากสหรัฐอเมริกา'''
* เวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (World Wrestling Entertainment) หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE), ในอดีตใช้ชื่อว่า เวิลด์ เรสต์ลิง เฟเดอเรชัน (World Wrestling Federation) หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ (WWF)
* World Wrestling Entertainment หรือ WWE ในอดีตใช้ชื่อ World Wrestling Federation หรือ WWF
* World Championship Wrestling หรือ WCW
* โกลบอล ฟอร์ซ เรสต์ลิง (Global Force Wrestling) หรือ จีเอฟดับเบิลยู (GFW), ในอดีตใช้ชื่อว่า โททอล นอนสต็อป แอ็คชั่น (Total Nonstop Action) หรือ ทีเอ็นเอ (TNA) และ อิมแพ็ค เรสต์ลิง (Impact Wrestling)
* All Elite Wrestling หรือ AEW
* ริง ออฟ ออเนอร์ (Ring of Honor) หรือ อาร์โอเอช (ROH)
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศเม็กซิโก'''
* ก็อนเซโค มุนดิอัล เดอ ลูชา ลิเบร (Consejo Mundial de Lucha Libre) หรือ เซ-เอเม-เอเล-เอเล (ซีเอ็มแอลแอล) (CMLL)
* ลูชา ลิเบร ทริปเปิ้ลเอ เวิลด์ไวด์ (Lucha Libre AAA Worldwide)
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศญี่ปุ่น'''
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศญี่ปุ่น'''
* นิว เจแปน โปรเรสต์ลิง (New Japan Pro Wrestling) หรือ เอ็นเจพีดับเบิลยู (NJPW)
* นิว เจแปน โปรเรสต์ลิง (New Japan Pro Wrestling) หรือ เอ็นเจพีดับเบิลยู (NJPW)
บรรทัด 71: บรรทัด 85:
* โปรเรสต์ลิง โนอาห์ (Pro Wrestling Noah)
* โปรเรสต์ลิง โนอาห์ (Pro Wrestling Noah)
* ดรากอน เกท โปรเรสต์ลิง (Dragon Gate Pro Wrestling)
* ดรากอน เกท โปรเรสต์ลิง (Dragon Gate Pro Wrestling)
*บิ๊ก เจแปน โปรเรสต์ลิง (Big Japan Pro Wrestling) หรือ บีเจดับเบิลยู (BJW)
*ฟรอนเทียร์ มาร์เชียลอาร์ต เรสต์ลิง (Frontier Martial-Arts Wrestling) หรือ เอฟเอ็มดับเบิลยู (FMW)

'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศไทย'''
'''สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศไทย'''
* กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง (Gatoh Move Pro Wrestling)
* กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง (Gatoh Move Pro Wrestling)
บรรทัด 79: บรรทัด 96:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Wrestling|มวยปล้ำ}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Wrestling|มวยปล้ำ}}
* [http://natingshowtime.com เว็บไซต์น้าติงโชว์ไทม์]
* [http://natingshowtime.com เว็บไซต์น้าติงโชว์ไทม์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110207131149/http://natingshowtime.com/ |date=2011-02-07 }}
* [http://www.wwe.in.th เว็บไซต์ WWE ไทย]
* [http://www.wwe.in.th เว็บไซต์ WWE ไทย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20121226170840/http://www.wwe.in.th/ |date=2012-12-26 }}
* [http://Thaiwrestlingclub.pantown.com/ บอร์ดคนรักมวยปล้ำ] {{th}}
* [http://Thaiwrestlingclub.pantown.com/ บอร์ดคนรักมวยปล้ำ] {{th}}
* [http://www.yimwhan.com/board/board.php?user=auurex/ บอร์ด Puroresu]
* [http://www.yimwhan.com/board/board.php?user=auurex/ บอร์ด Puroresu] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305080244/http://yimwhan.com/board/board.php?user=auurex/ |date=2016-03-05 }}


{{ศิลปะการต่อสู้}}
{{ศิลปะการต่อสู้}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:27, 10 พฤศจิกายน 2567

นักมวยปล้ำบนเวทีมวยปล้ำ (ในภาพเป็น จอห์น ซีนา และ เดอะ ร็อก)

มวยปล้ำอาชีพ(อังกฤษ: professional wrestling) หมายถึง รูปแบบหนึ่งของกีฬามวยปล้ำที่นักมวยปล้ำได้รับค่าตอบแทน มวยปล้ำอาชีพในสมัยใหม่ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะมีการโจมตีคู่ต่อสู้ด้วยการใช้ส่วนแข็งของร่างกาย, การเข้าปะทะ, และการโจมตีคู่ต่อสู้ในแบบอื่นๆ ที่ไม่มีในศาสตร์มวยปล้ำดั้งเดิม

มวยปล้ำอาชีพ เป็นทั้งการแสดงศิลปะการต่อสู้, ความแข็งแรงของร่างกายมนุษย์ และการแสดงท่ากายกรรมต่างๆ ในรูปแบบของกีฬาต่อสู้

มวยปล้ำอาชีพเริ่มเป็นที่นิยมในทวีปยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และในภายหลัง ได้รับการเผยแพร่เข้ามาในแถบทวีปอเมริกาทั้งหมด ไปจนถึงหมู่เกาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก, ทวีปออสเตรเลีย, และทวีปเอเชีย ในวงการมวยปล้ำอาชีพของโลก มีนักมวยปล้ำอาชีพ, บุคคลในวงการ, และผู้รับชม มากที่สุดในสหรัฐอเมริกา, ประเทศแคนาดา, ประเทศเม็กซิโก, และ ประเทศญี่ปุ่น

ปัจจุบัน มวยปล้ำอาชีพยังคงได้รับความนิยมจากผู้ชมทั่วโลก โดยมีกลุ่มผู้ชมมากที่สุดตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ศตววรษที่ 20 เป็นต้นมา แม้จะมีการยืนยันว่ามวยปล้ำอาชีพในยุคสมัยใหม่นั้น เป็นเพียงการแสดงเพื่อความบันเทิงของผู้รับชมแล้วก็ตาม

กฎกติกาของมวยปล้ำอาชีพ

[แก้]
  1. แบบปล้ำเดี่ยว (Single Match) - เป็นกติกาพื้นฐาน และเป็นกติกาหลักของมวยปล้ำอาชีพ นั่นคือ นักมวยปล้ำทั้งสองคน จะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวย โดยใช้การโจมตีด้วยการใช้กำปั้นทุบ, การเตะ, การฟันด้วยสันมือ, การฟันศอก, การตีเข่า, การวิ่งเข้าปะทะ, การเด้งตัวกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้ววิ่งเข้าปะทะ, การเหวี่ยงตัวคู่ต่อสู้ให้ตกเวทีมวย, การเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เด้งกับเชือกกั้นเวทีมวยแล้วโจมตี หรือ จับทุ่ม หรือเข้าปะทะ, การเหวี่ยงอัดด้วยท่อนแขนหรือท่อนขา, การพุ่งเข้าปะทะจากบนเสามุมเวทีมวย, การกระโดดทับตัวของคู่ต่อสู้และการซ้ำคู่ต่อสู้ด้วยการทิ้งท่อนแขน, ท่อนขา, ศอก, ส่วนท้าย, เข่า, ฝ่าเท้า (จากบนพื้นเวทีหรือจากบนเสามุมเวทีมวยก็ได้) และ การจับทุ่มคู่ต่อสู้ การปล้ำจะจบลงพร้อมผลแพ้ชนะเมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกดไหล่ของนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งที่หงายตัวอยู่ให้แตะติดพื้นบนเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการ "พิน (Pin)") จนกระทั่งกรรมการผู้ห้ามเข้ามาแล้วนับ 1 ถึง 3 หากกรรมการนับครบถึงเลข 3 ไปแล้ว ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่ยังคงถูกอีกฝ่ายซึ่งเป็นผู้กดไหล่ กดติดพื้นเวทีมวยอยู่ จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นสำเร็จ การปล้ำก็จะยุติลง และผู้ที่กดไหล่คู่ต่อสู้ได้สำเร็จเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าหากผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นยกตัวหรือยกไหล่ขึ้นมาจากการกดได้ หรือ ไหล่ของผู้ที่ถูกกดไหล่นั้นได้หลุดออกไปจากการกดไหล่ไปก่อนที่กรรมการผู้ห้ามจะนับได้ถึงเลข 3 ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม จะถือว่าการกดไหล่ของผู้กดไหล่ครั้งนั้นยังไม่สำเร็จ และจะต้องต่อสู้กันไปจนกว่าจะสามารถกดไหล่อีกฝ่ายได้สำเร็จ อีกหนึ่งวิธีการเอาชนะคือการล็อกหรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถใช้ท่าล็อกที่จะขัดขวางการเคลื่อนไหวของอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้อีกฝ่ายแสดงสัญญาณการขอยอมแพ้ โดยกรรมการจะเข้าไปถามว่า ยอมแพ้ไหม? ("กิฟอัพ? (Give up?)") หากฝ่ายที่ถูกล็อกแสดงการยอมจำนนโดยการตบพื้นอย่างต่อเนื่อง หรือ แตะส่วนของร่างกายที่ถูกล็อกอย่างต่อเนื่อง (ในภาษาอังกฤษจะเรียกว่าเป็นการ "แท็ป เอาต์ (Tap Out)") กรรมการผู้ห้ามจะหยุดการปล้ำ และให้ฝ่ายที่ใช้ท่าล็อก เป็นผู้ชนะทันที ในกรณีที่ผู้ถูกล็อกต้องการยอมจำนนแต่ไม่สามารถแสดงการยอมจำนนโดยการตบพื้นอย่างต่อเนื่องหรือแตะส่วนของร่างกายที่ถูกล็อกอย่างต่อเนื่องได้ ผู้ถูกล็อกสามารถกล่าวขอยอมจำนนกับกรรมการผู้ห้ามด้วยวาจาให้กรรมการผู้ห้ามรับทราบได้ หากผู้ถูกล็อกเกิดสลบไปในระหว่างที่อยู่ในท่าล็อกของผู้ใช้ท่าล็อก ซึ่งทำให้ไม่สามารถโต้ตอบกับกรรมการผู้ห้ามได้ กรรมการผู้ห้ามสามารถยุติการปล้ำ และผู้ที่ใช้ท่าล็อกจะเป็นผู้ชนะน็อกไปในทันที ผู้ถูกใช้ท่าล็อกสามารถดิ้นออกจากล็อก เพื่อหลบหนีออกจากการถูกล็อกได้ หรือ เข้าไปจับเชือกกั้นเวทีมวยเพื่อ "โรพ เบรก" (Rope Break) ให้คู่ต่อสู้หยุดใช้ท่าล็อกได้ ในขณะที่มีการใช้ท่าล็อก, การรัดตัว, หรือการกดไหล่ หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบจากการถูกใช้ท่าล็อก, ถูกรัดตัว, หรือถูกกดไหล่ สามารถเข้าไปจับหรือสัมผัสเชือกกั้นเวทีมวยได้ จะถือว่าเป็นการ "โรพ เบรก" (Rope Break) นักมวยปล้ำที่เป็นฝ่ายได้เปรียบจะต้องผละตัวออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบให้ความได้เปรียบของทั้งสองฝ่ายเสมอตัวกันและดำเนินการปล้ำต่อไป มิเช่นนั้น กรรมการผู้ห้ามจะเตือนนักมวยปล้ำฝ่ายที่ได้เปรียบให้ผละออกจากนักมวยปล้ำฝ่ายที่เสียเปรียบ และจะนับหนึ่งถึงห้าเพื่อให้เวลาฝ่ายที่ได้เปรียบผละออกจากฝ่ายที่เสียเปรียบ หากยังไม่ผละออกก็จะถูกปรับแพ้ หากมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกลงไปจากเวทีหรือเดินลงไปจากเวทีทั้งๆ ที่การแข่งขันยังไม่มีผลแพ้ชนะ กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เป็นการนับให้นักมวยปล้ำกลับขึ้นมาเมื่อออกจากเวทีมวย (ในภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นการนับ "ริง เอาท์ เคาท์" Ring Out Count) (ในบางการแข่งขันก็จะนับ 1 ถึง 20) เพื่อให้เวลานักมวยปล้ำที่ตกลงไปจากเวทีได้กลับขึ้นมา หากไม่กลับขึ้นมาเมื่อครบจำนวนตัวเลขที่ทางกรรมการผู้ห้ามได้นับ ก็จะถูกปรับแพ้ นักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีจะชนะทันที หากกลับขึ้นมา การปล้ำก็จะถูกดำเนินต่อไป จนกระทั่งมีผลแพ้ชนะ หากนักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายลงไปต่อสู้กันด้านล่างเวทีมวย แม้จะไม่ถือว่าผิดกติกา แต่กรรมการก็จะนับให้กลับขึ้นเวทีมวย เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายกลับขึ้นมา หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยก่อนกลับขึ้นมา แล้วอีกฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังไม่ขึ้นมา กรรมการจะเริ่มการนับใหม่ เพื่อให้ฝ่ายที่ลงเวทีมวยทีหลังได้ขึ้นมา แต่หากฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปก่อนยังไม่ขึ้น แต่ฝ่ายที่ลงเวทีมวยไปทีหลังขึ้นมาก่อน กรรมการจะนับให้กลับขึ้นเวทีมวยไปจนถึงที่ได้กำหนดไว้ หากไม่กลับขึ้นมาก็จะแพ้ทันที หากทั้งสองฝ่ายล้มลงนอนบนเวทีทั้งคู่ ไม่ว่าจะสาเหตุใดก็ตาม กรรมการจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้มีเวลาลุกขึ้นมา เมื่อนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งลุกขึ้นมาแล้ว กรรมการผู้ห้ามจึงจะหยุดนับและให้ดำเนินการปล้ำต่อไปจนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ หากไม่ลุกขึ้นมาทั้งคู่ กรรมการผู้ห้ามจะยุติการแข่งขัน และจะให้ผลออกมาเสมอกัน หากลุกขึ้นมาทั้งคู่ การปล้ำก็จะดำเนินต่อไป จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะออกมา การกดไหล่เอาชนะด้านล่างเวทีมวยนั้นกรรมการจะไม่นับให้ ต้องกดไหล่กันบนเวทีมวยเท่านั้น กรรมการถึงจะนับ 1 ถึง 3 และตัดสินผลแพ้ชนะได้ ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ เช่นเดียวกับการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ การยอมแพ้ของคู่ต่อสู้จะเป็นผลการปล้ำได้ก็ต่อเมื่ออยู่ด้านบนเวทีมวยเท่านั้น ยกเว้นการปล้ำอยู่ในแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันจากด้านล่างเวทีมวยได้ ส่วนการนำเอาสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยและการนำอาวุธระยะประชิดมาใช้บนเวทีมวยนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกา (หากการปล้ำไม่ได้เป็นแบบที่ใช้อาวุธบนเวทีมวยได้) ผู้ที่ใช้อาวุธเข้าโจมตีคู่ต่อสู้บนเวทีมวยจะถูกปรับแพ้ และให้ผู้ที่ถูกโจมตีด้วยอาวุธเป็นฝ่ายชนะไป การนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธและการใช้อาวุธระยะประชิดชนิดใดก็ตามจะต้องกระทำ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวยเท่านั้น จึงจะทำได้ (ในบางสมาคมมวยปล้ำอาชีพก็ไม่มีการอนุญาตให้ใช้อาวุธทั้งด้านบนและด้านล่างเวทีมวย) ส่วนการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัดนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำในการต่อสู้แบบมวยปล้ำอาชีพ แม้จะไม่ได้ถือว่าเป็นเรื่องผิดกติกาอย่างร้ายแรง แต่กรรมการผู้ห้ามจะพูดเตือนให้นักมวยปล้ำหยุดยั้งการชกคู่ต่อสู้ด้วยหมัด หรือพยายามเข้าระงับการใช้หมัดชกคู่ต่อสู้อย่างต่อเนื่องของนักมวยปล้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะเป็นหมัดจากที่ตัวผู้ใช้ลอยอยู่กลางอากาศ จึงจะไม่ใช่เรื่องผิดกติกา เช่น หมัดจากท่า "ซูเปอร์แมนพันช์ (Superman Punch)" หรือ การกระโดดทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ เป็นต้น การทิ้งหมัดลงมาใส่คู่ต่อสู้ (หรือที่เรียกว่า "ฟิสต์ดร็อป (Fist Drop)") นั้นไม่ผิดกติกา ส่วนการโจมตีส่วนของร่างกายบริเวณ"ใต้เข็มขัด"ของนักมวยปล้ำเพศชายโดยตรงนั้นเป็นสิ่งที่ผิดกติกาอย่างยิ่ง หากการปล้ำครั้งนั้นไม่ได้มีกติกาที่อนุญาตให้โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"โดยตรงได้ นักมวยปล้ำผู้ที่โจมตีส่วน"ใต้เข็มขัด"ของคู่ต่อสู้โดยตรงจะถูกปรับแพ้ (อย่างไรก็ตาม การโจมตีด้วยท่าอย่าง อะตอมมิค ดรอป แบบกลับด้าน หรือ "อินเวอร์เต็ด อะตอมมิค ดรอป (Inverted Atomic Drop)" นั้น ถือว่าเป็นท่าทุ่มแบบหนึ่ง ไม่ได้ถือว่าผิดกติกาแต่อย่างใด)

2. แบบแท็กทีม (Tag Team Match) - นักมวยปล้ำทั้งสองฝ่ายจะต้องมาแบบทีม หนึ่งทีมจะมี 2 คน นักมวยปล้ำทั้งสองทีมต้องส่งตัวแทน 1 คน ไปต่อสู้กับตัวแทนอีก 1 คน ของฝ่ายตรงข้าม ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย ส่วนอีกคนหนึ่งจะต้องยืนเกาะเชือกเวทีมวยไว้ เพื่อรอเปลี่ยนตัวบริเวณด้านข้างมุมเสาเวทีมวยอยู่ทางด้านนอก การที่อีกคนหนึ่งจะเข้าไปต่อสู้ได้นั้น จะต้องถูกแตะมือ หรือถูกสัมผัสโดยนักมวยปล้ำร่วมทีมของตัวเองที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อน (เรียกว่าเป็นการ "แท็ก (Tag)") จึงจะเข้าไปสู้แทนได้ ส่วนนักมวยปล้ำผู้ร่วมทีมที่ได้ออกไปต่อสู้ก่อนหน้านี้ เมื่อได้เข้าไปแตะมือ หรือสัมผัสตัวของผู้ร่วมทีมอีกคนหนึ่งซึ่งกำลังยืนเกาะเชือกเวทีมวยเพื่อรอเปลี่ยนตัวแล้ว ก็จะต้องไปยืนเกาะเชือกเวทีมวยรออยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยทางด้านนอกแทน (แต่ก็ยังสามารถอยู่ภายในบริเวณลานต่อสู้ก่อนได้ เพียงชั่วขณะหนึ่ง) จนกว่าจะถูกแตะมือหรือถูกสัมผัสโดยผู้ร่วมทีมของตัวเองที่เข้าไปต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้แทน จึงจะเข้าไปสู้อีกได้ ทั้งสองทีมจะต่อสู้กันรูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะ ผลแพ้ชนะของการปล้ำจะตัดสินแบบเป็นทีม ทีมที่ชนะคือทีมที่นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของทีมสามารถเอาชนะนักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งของอีกฝ่ายไปได้ ส่วนกติกาหลักของการปล้ำแบบแท็กทีมก็เป็นกติกามวยปล้ำอาชีพแบบพื้นฐาน เอาชนะกันด้วยการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นกัน ในการปล้ำแบบแท็กทีม นักมวยปล้ำในทีมที่ได้รับการเปลี่ยนตัวเข้ามาต่อสู้ในลานบนเวทีมวยแล้วสามารถจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ได้ และนักมวยปล้ำที่กำลังรอเปลี่ยนตัวอยู่ก็สามารถโจมตีนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามได้ ณ จุดที่รอเปลี่ยนตัวอยู่หรือในบริเวณด้านนอกเวทีมวย สำหรับการปล้ำแบบแท็กทีมในรูปแบบที่มีจำนวนสมาชิกในทีมมากกว่าสองคน นักมวยปล้ำจะแท็กผู้ร่วมทีมเพื่อเปลี่ยนตัวให้ผู้ร่วมทีมของตนที่ได้รอเปลี่ยนตัวอยู่บริเวณมุมเสาเวทีมวยด้านนอกนั้นเข้ามาต่อสู้แทนกันได้หนึ่งครั้งการแท็กต่อผู้ร่วมทีมหนึ่งคนในทีมเท่านั้น

2.1 แบบแท็กทีมหกคน (6-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 3 คน

2.2 แบบแท็กทีมแปดคน (8-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 4 คน

2.3 แบบแท็กทีมสิบคน (10-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 5 คน

2.4 แบบแท็กทีมสิบสองคน (12-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 6 คน

2.5 แบบแท็กทีมสิบสี่คน (14-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 7 คน

2.6 แบบแท็กทีมสิบหกคน (16-Man Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ทั้งสองฝ่ายจะมาเป็นทีมที่มีสมาชิกทีมละ 8 คน

3. แบบ แบทเทิล รอยัล (Battle Royal) - เป็นการปล้ำในแบบที่นักมวยปล้ำทั้งหมดบนเวทีมวยจะต้องเข้าตะลุมบอนกันเอง จนกระทั่งเหลือนักมวยปล้ำอยู่บนเวทีมวยเพียงแค่คนเดียว ในการปล้ำแบบ แบทเทิล รอยัลหนึ่งครั้งนั้น จะมีนักมวยปล้ำที่ต่อสู้อยู่บนเวทีมวย ตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป (โดยทั่วไปแล้ว จะปล้ำกันไม่เกิน 20 ถึง 30 คน ต่อหนึ่งเวที) นักมวยปล้ำแต่ละคนจะต้องเอาชนะคู่ต่อสู้บนเวทีมวยให้มากที่สุด จนกระทั่งเหลือตนอยู่คนเดียว หลักของการเอาชนะคู่ต่อสู้แต่ละคนในการปล้ำแบบ แบทเทิล รอยัล นั้น คือการเหวี่ยง, โยน, หรือดันคู่ต่อสู้ให้หล่นลงจากด้านบนเวทีมวยผ่านเหนือด้านบนของเชือกกั้นเวทีมวยเส้นที่สาม หรือ เส้นด้านบนสุดของเวทีมวย ให้เท้าทั้งสองข้างของคู่ต่อสู้มาสัมผัสกับพื้นด้านล่างเวทีมวย นักมวยปล้ำที่ถูกคู่ต่อสู้เอาชนะได้ก็จะตกรอบ ส่วนนักมวยปล้ำที่ยังไม่ตกรอบก็จะทำการปล้ำต่อไป จนกระทั่งเหลือนักมวยปล้ำที่ยังไม่ตกรอบอยู่บนเวทีมวยจำนวนหนึ่งคน การปล้ำจึงจะยุติลง และนักมวยปล้ำคนเดียวคนนั้นก็จะเป็นผู้ชนะ

4. แบบ แฮนดิแคป (Handicap Match) - เป็นการปล้ำในแบบที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายมีจำนวนคนไม่เท่ากัน เช่น ฝ่ายหนึ่งมีเพียงคนเดียว แต่อีกฝ่ายมีสองคน, ฝ่ายหนึ่งมีสองคน แต่อีกฝ่ายมีสามคน, หรือฝ่ายหนึ่งมีสามคน แต่อีกฝ่ายมีจำนวนคนมากกว่า เป็นต้น การปล้ำแบบแฮนดิแคปมีทั้งแบบที่นักมวยปล้ำทั้งหมดต่อสู้กันบนเวทีมวย และการปล้ำที่นักมวยปล้ำคนเดียวเจอกับนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่มาแบบแท็กทีมหรือปล้ำแบบแท็กทีมในแบบที่จำนวนสมาชิกของแต่ละทีมไม่เท่ากัน

5. การปล้ำแบบให้ยอมจำนน (Submission Match) - เป็นการปล้ำในแบบที่การล็อกคู่ต่อสู้หรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ คือหนทางเดียวสำหรับการเป็นผู้ชนะ

กติกาการปล้ำแบบพิเศษในมวยปล้ำอาชีพ

[แก้]
  1. การปล้ำแบบไม่มีสังเวียนจำกัด (Falls Count Anywhere Match) - มักเรียกว่าเป็นการปล้ำแบบการต่อสู้ข้างถนน หรือ แบบสตรีตไฟต์ (Street Fight) เป็นการปล้ำในรูปแบบที่นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ ณ บริเวณด้านล่างเวทีมวย ด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม หรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นั่นหมายความว่า นอกจากด้านบนเวทีมวยแล้ว การปล้ำในรูปแบบนี้สามารถดำเนินไปได้ทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธเพื่อโจมตีคู่ต่อสู้ในระยะประชิดได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย สิ่งของที่มักจะถูกนำมาเป็นอาวุธ เช่น เก้าอี้พับ, โต๊ะไม้, ขั้นบันไดเหล็ก, บันไดปีน, ถังขยะโลหะและฝาของถังขยะ, ไมโครโฟน, ระฆังมวย, ค้อนเคาะระฆังมวย, ไม้เบสบอล, ไม้เคนโด้, ฯลฯ (ซึ่งสิ่งที่นักมวยปล้ำมักนำขึ้นมาเป็นอาวุธนั้นจะเป็นอุปกรณ์ที่ถูกออกแบบมาอย่างดีเพื่อใช้ในการแสดงเท่านั้น และมีการซักซ้อมการแสดงการต่อสู้กันมาเป็นอย่างดีแล้ว) การปล้ำในรูปแบบนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำจะต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว แต่ในบางครั้ง ก็มีการนำกติการูปแบบนี้ไปผสมกับการปล้ำแท็กทีมแบบธรรมดา เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมที่ไม่มีสังเวียนจำกัด

2. การปล้ำแบบ ทอร์นาโด แท็กทีม (Tornado Tag Team Match) - เป็นการปล้ำแบบตะลุมบอนเป็นทีม นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะมาแบบเป็นทีม แต่ละทีมมีจำนวนสมาชิกเท่าๆกัน และเข้าตะลุมบอนทีมฝ่ายตรงข้ามเพื่อชัยชนะที่จะมีให้เพียงทีมเดียว นักมวยปล้ำทุกฝ่ายในการปล้ำรูปแบบนี้สามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ และสามารถเอาชนะทีมฝ่ายตรงข้ามด้วยการกดไหล่สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งของทีมฝ่ายตรงข้ามยอมแพ้ได้ในบริเวณด้านบนเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก

3. การปล้ำในกรงเหล็ก (Steel Cage Match) - เป็นการปล้ำที่จะมีกำแพงตาข่ายเหล็กมาวางล้อมรอบเวทีมวยไว้ตลอดทั้งสี่ทิศ ซึ่งนั่นเรียกว่าเป็น "กรงเหล็ก" นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งถูกล้อมรอบด้วยกำแพงตาข่ายเหล็กเวทีนั้น นักมวยปล้ำที่สามารถปีนข้าม "กรงเหล็ก" ให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยได้เป็นฝ่ายแรกก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะได้ด้วยการนำตัวเองออกมาจากเวทีมวยผ่านทางประตูของกรงเหล็กให้เท้าทั้งสองข้างลงมาสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีได้ก่อนคู่ต่อสู้เพื่อเป็นฝ่ายชนะ และในอีกหลายๆคู่ นักมวยปล้ำสามารถเอาชนะกันได้ด้วยการกดไหล่นับสาม และ การใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบทั่วไป อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่แล้ว หลักของการเอาชนะคู่ต่อสู้ในการปล้ำในกรงเหล็กเช่นนี้ คือการออกมาจากกรงเหล็กลงมาให้เท้าทั้งสองข้างสัมผัสพื้นด้านล่างเวทีมวยให้ได้ก่อนคู่ต่อสู้ การปล้ำในกรงเหล็กอนุญาตให้นักมวยปล้ำใช้สิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยเป็นอาวุธได้ การปล้ำในกรงเหล็กเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว นักมวยปล้ำต่อสู้กันตัวต่อตัวในกรงเหล็ก และการปล้ำในรูปแบบที่มีจำนวนนักมวยปล้ำในการปล้ำหนึ่งครั้งมากกว่าสองคน เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม เป็นต้น

3.1 แบบแท็กทีมในกรงเหล็ก (Tag Team Steel Cage Match) - เป็นการปล้ำแบบแท็กทีมธรรมดาที่อยู่ภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำคนใดคนหนึ่งที่ได้รับสิทธิ์ (หรือได้รับการ "แท็ก") ให้เข้ามาต่อสู้ในบริเวณลานต่อสู้ของเวทีมวย หากสามารถปีนออกจากกรงเหล็กหรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนคู่ต่อสู้ เขาและผู้ร่วมทีมของเขาก็จะเป็นทีมที่ชนะ

3.2 แบบทอร์นาโด แท็กทีม ในกรงเหล็ก (Tornado Tag Team Steel Cage Match) - เป็นการปล้ำแบบทีมตะลุมบอนภายในบริเวณกรงเหล็ก สำหรับการเอาชนะทีมของฝ่ายตรงข้ามด้วยการหลบหนีออกจากกรงเหล็กในการปล้ำรูปแบบนี้ ทีมใดที่สมาชิกทั้งหมดปีนออกมาจากกรงเหล็กได้หรือออกมาผ่านประตูทางออกของกรงเหล็กได้ก่อนทีมฝ่ายตรงข้าม ก็จะเป็นทีมที่ชนะ

4. การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" (Hell in a Cell Match) - เป็นการปล้ำในกรงเหล็กแบบมีเพดาน นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะต้องเริ่มต่อสู้กันบนเวทีมวยซึ่งมีกรงเหล็กแบบมีเพดานอยู่ด้านบน ในการปล้ำแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นักมวยปล้ำสามารถออกไปต่อสู้กันภายนอกกรงเหล็กได้ โดยจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของจากด้านล่างเวทีมวยมาใช้เป็นอาวุธบนเวทีมวยได้ นักมวยปล้ำยังสามารถขึ้นไปต่อสู้กันบนเพดานของกรงเหล็กนี้ได้อีกด้วย ผลแพ้ชนะนั้นจะมาจากการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้จากด้านบนเวทีมวยเท่านั้น แต่ในบางการแข่งขัน ผลแพ้ชนะของการปล้ำสามารถมาจากการต่อสู้บนเพดานของกรงเหล็กได้ นั่นหมายความว่า ในบางการแข่งขัน นักมวยปล้ำสามารถกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ที่บนเพดานของกรงเหล็ก การปล้ำในกรงเหล็กแบบ "เฮลล์ อิน อะ เซลล์" นั้น เป็นที่รู้จักจาก สมาคมมวยปล้ำอาชีพ เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (World Wrestling Entertainment) หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE)

5. การปล้ำแบบใช้บันไดปีน (Ladder Match) - เป็นการปล้ำที่มีวิธีการเอาชนะคู่ต่อสู้อยู่วิธีเดียวเท่านั้น คือการปีนบันไดขึ้นไปเก็บสิ่งของสำคัญบางอย่างที่ทางผู้จัดห้อยไว้เหนือเวทีมวยลงมา (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเข็มขัดแชมป์) ไม่สามารถใช้การกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ได้ บันไดปีนสามารถนำมาใช้เป็นอาวุธช่วยต่อสู้ และนักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของอื่นๆมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้บันไดปีนได้ นักมวยปล้ำสามารถใช้บันได้ปีนโจมตีคู่ต่อสู้ได้ทั้งบนและล่างเวทีมวย และจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย สำหรับบันไดปีนที่นักมวยปล้ำจะได้ใช้ในการปล้ำรูปแบบนี้นั้น มักจะถูกตั้งหรือพับไว้อยู่ด้านล่างเวทีมวย เมื่อการปล้ำเริ่มขึ้น นักมวยปล้ำจะไปหยิบและนำขึ้นมาใช้ด้วยตนเอง ปัจจุบัน ในการปล้ำรูปแบบนี้ มักจะมีบันไดปีนให้นักมวยปล้ำใช้มากกว่าสองตัวขึ้นไป การปล้ำแบบใช้บันไดปีนเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยวและแบบหลายคน ทั้งแบบที่นักมวยปล้ำต่างฝ่ายหลายคนตะลุมบอนกันเองเพื่อปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญแต่เพียงผู้เดียว และแบบเป็นทีมเข้าตะลุมบอนทีมตรงข้ามเพื่อให้สมาชิกในทีมของตนปีนขึ้นไปเอาสิ่งของสำคัญลงมาให้กับทางทีม

6. การปล้ำแบบ "ไอ ควิต" ("I Quit" Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องเข้าต่อสู้ให้ฝ่ายตรงข้ามเกิดอาการบาดเจ็บมากที่สุด จนกระทั่งมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกกับกรรมการผู้ห้าม หรือ บอกกับผู้ชมผ่านไมโครโฟนว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิต (I quit.)" ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นการแสดงการยอมจำนนและมอบชัยชนะให้กับนักมวยปล้ำอีกฝ่ายหนึ่งไปในทันที การปล้ำแบบ ไอ ควิท นั้น ไม่มีการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับสามเพื่อเอาชนะ มีเพียงการแสดงการยอมจำนนจากคู่ต่อสู้ด้วยการพูดคำว่า "ขอเลิก", "ฉันขอเลิก", หรือ "ไอ ควิต (I quit.)" เท่านั้น แต่ก็จะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างของเวทีมวย และสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้

7. การปล้ำแบบ "ลัมเบอร์แจ็ค" (Lumberjack Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายปล้ำกันแบบปกติบนเวทีมวย เอาชนะกันด้วยการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งถึงสาม และการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ เช่นเดียวกับการปล้ำแบบธรรมดาทั่วไป แต่บริเวณด้านล่างเวทีมวย จะมีกลุ่มนักมวยปล้ำอยู่กลุ่มหนึ่งที่มีหน้าที่หลักคือการจับตัวนักมวยปล้ำที่หล่นลงจากบนเวทีมวยลงมา เพื่อส่งนักมวยปล้ำคนนั้นกลับขึ้นไปบนเวทีมวยในช่วงระหว่างการปล้ำ ตำแหน่งของนักมวยปล้ำกลุ่มนี้ เรียกว่า "คนตัดไม้" หรือ "เดอะ ลัมเบอร์แจ็คส์" (The Lumberjacks) หากเป็นนักมวยปล้ำหญิง จะเรียกว่าเป็น เดอะ ลัมเบอร์จิลส์ (The Lumberjills) ในหลายครั้ง นักมวยปล้ำกลุ่มนี้จะมีฝ่ายกับนักมวยปล้ำที่อยู่บนเวทีมวย และจะประจำตำแหน่งอยู่คนละฟากด้านล่างเวทีมวย เมื่อนักมวยปล้ำฝ่ายที่พวกเขาและเธอช่วยเหลือนั้นตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะพยุงขึ้นและส่งกลับขึ้นไปบนเวทีมวย พวกเขาและเธอยังสามารถเข้าไปขัดขวางหรือห้ามกลุ่มนักมวยปล้ำของฝ่ายตรงข้ามไม่ให้เข้าโจมตีนักมวยปล้ำของฝ่ายตนเองที่ตกลงมาจากเวทีมวย ในทางกลับกัน หากเป็นนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่ตกลงมาจากเวทีมวย พวกเขาและเธอจะรุมเข้าโจมตีก่อนจะส่งนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามกลับขึ้นไปบนเวทีมวย ในบางครั้ง นักมวยปล้ำบางคนในกลุ่มก็ทำการจู่โจมนักมวยปล้ำฝ่ายตรงข้ามที่อยู่บนเวทีมวย ซึ่งไม่ได้ถือว่าผิดกติกาในการปล้ำรูปแบบนี้ การปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็คมีทั้งแบบการปล้ำธรรมดาและแบบที่สามารถใช้อาวุธบนเวทีมวยได้ และในบางครั้ง ก็มีการนำกติกาของมวยปล้ำอาชีพบางรูปแบบอื่นๆมาผสมกับการปล้ำแบบลัมเบอร์แจ็ค เช่น การปล้ำแบบแท็กทีม นำมาเป็น การปล้ำแบบแท็กทีมที่มีกลุ่มลัมเบอร์แจ็ค เป็นต้น

8. การปล้ำแบบใช้โต๊ะ (Tables Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำต้องพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมากับตัวของคู่ต่อสู้ เช่น การทุ่มฝ่ายตรงข้ามลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การวางคู่ต่อสู้นอนลงบนโต๊ะไม้ที่นำมาตั้งไว้ แล้วกระโดดเข้าซ้ำคู่ต่อสู้ที่นอนอยู่บนโต๊ะไม้ให้โต๊ะไม้หักลงมาเป็นสองท่อน หรือ การพาดโต๊ะไม้ไว้ที่มุมเสาเวที แล้วเหวี่ยงหรือเข้าปะทะคู่ต่อสู้ให้เข้าไปชนกับโต๊ะไม้ที่พาดไว้ ให้โต๊ะไม้หักครึ่งลงมาเป็นสองท่อน เป็นต้น นักมวยปล้ำฝ่ายใดที่พิชิตอีกฝ่ายได้ด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งนี้ก็จะเป็นผู้ชนะ สำหรับโต๊ะไม้ที่ใช้ในการปล้ำแบบใช้โต๊ะนี้ จะเป็นโต๊ะไม้แบบพิเศษสำหรับใช้ในการปล้ำ ซึ่งทางผู้จัดจะได้จัดไว้ให้ ตั้งแต่สองถึงสามตัวขึ้นไป และจะถูกตั้งหรือพับไว้ด้านล่างเวทีมวย การปล้ำแบบใช้โต๊ะจะไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย ไม่มีการเอาชนะกันด้วยการกดไหล่นับสามและการใช้ท่าล็อกให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำสามารถนำโต๊ะไม้เหล่านั้นขึ้นมาเป็นอาวุธช่วยต่อสู้ได้ทั้งด้านบนและล่างเวทีมวย นั่นหมายความว่า นักมวยปล้ำสามารถพิชิตคู่ต่อสู้ลงบนโต๊ะไม้เพื่อเป็นฝ่ายชนะได้ในทุกจุดในบริเวณใกล้กับเวทีมวย สิ่งของอื่นๆสามารถนำมาเป็นอาวุธช่วยในการปล้ำแบบใช้โต๊ะได้ การปล้ำแบบใช้โต๊ะเป็นได้ทั้งการปล้ำแบบเดี่ยว, แบบตะลุมบอนกันเองหลายคน, และแบบเป็นทีม

9. การปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" ("Last Man Standing" Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องเข้าต่อสู้ฝ่ายตรงข้ามจนกระทั่งฝ่ายตรงข้ามล้มลงและไม่สามารถลุกขึ้นมายืนและต่อสู้ต่อได้ เมื่อมีนักมวยปล้ำฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งล้มลงไป กรรมการผู้ห้ามจะนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง ให้นักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปได้ลุกขึ้นมา หากนักมวยปล้ำฝ่ายที่ล้มลงไปไม่สามารถยืนอยู่กับพื้นหรือกลับขึ้นมาต่อสู้ต่อในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับให้ลุกขึ้น นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยังสามารถยืนอยู่กับพื้นได้ก็จะเป็นฝ่ายชนะ ในการปล้ำแบบ "ผู้ยืนหยัดคนสุดท้าย" หรือ "ลาสต์แมน สแตนดิ้ง" นี้ ก็มีวิธีการตัดสินผลแพ้ชนะคล้ายกับการตัดสินการชนะน็อกในกีฬามวยสากลและมวยไทยนั่นเอง ในการปล้ำรูปแบบนี้ นักมวยปล้ำสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนเวทีมวยและด้านล่างเวทีมวย โดยที่กรรมการผู้ห้ามจะไม่นับให้ขึ้นเวทีมวย และนักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก

10. การปล้ำแบบ เท็กซัส เดธ แมทช์ (Texas Death Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายต้องผ่านขั้นตอนการเอาชนะอย่างต่อเนื่องกันทั้งหมดสองขั้นตอนจึงจะเป็นผู้ชนะ ขั้นตอนแรกคือการกดไหล่คู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามนับหนึ่งจนถึงสามหรือล็อกคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ เมื่อกดไหล่คู่ต่อสู้จนกรรมการผู้ห้ามนับถึงสามหรือคู่ต่อสู้ยอมแพ้จากการล็อกแล้ว ก็จะผ่านขั้นตอนแรก และเข้าสู่ขั้นตอนที่สองทันที นั่นคือการปล่อยให้คู่ต่อสู้คนนั้นกลับขึ้นมายืนอยู่กับพื้น ซึ่งหากคู่ต่อสู้นั้นไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลาง นักมวยปล้ำฝ่ายที่ยืนหยัดอยู่ก็จะผ่านขั้นตอนที่สองซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายสำหรับชนะในการปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ และเป็นฝ่ายชนะ นักมวยปล้ำฝ่ายใดก็ตามที่ยังไม่สามารถผ่านขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งได้สำเร็จ ก็จะต้องดำเนินการปล้ำต่อไปและเริ่มต้นผ่านจากขั้นตอนแรกใหม่อีกครั้ง จนสามารถผ่านทั้งสองขั้นตอนอย่างต่อเนื่องกันได้สำเร็จ จึงจะเป็นฝ่ายชนะ การปล้ำแบบเท็กซัส เดธ แมทช์ ไม่มีการนับให้ขึ้นเวทีมวย นักมวยปล้ำสามารถนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธได้ และสามารถดำเนินการปล้ำได้ทั้งในบริเวณด้านบนและด้านล่างเวทีมวย ในบางครั้ง มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมกับการปล้ำในกรงเหล็ก

11. การปล้ำแบบ ชู้ต เรสต์ลิง (Shoot Wrestling Match) - เป็นการปล้ำที่จะมีสองหนทางหลักสำหรับการเป็นผู้ชนะ คือ การปล้ำหรือโจมตีคู่ต่อสู้เพื่อพิชิตให้ล้มลงไปจนไม่สามารถกลับขึ้นมายืนเพื่อต่อสู้ต่อได้ภายในช่วงเวลาที่กรรมการผู้ห้ามนับ 1 ถึง 10 ด้วยความเร็วปานกลางให้ลุกขึ้นมา และ การล็อกคู่ต่อสู้หรือรัดตัวคู่ต่อสู้ให้ยอมแพ้ นักมวยปล้ำฝ่ายใดที่สามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้โดยทางใดทางหนึ่งก็จะเป็นฝ่ายชนะ ไม่มีการกดไหล่ของคู่ต่อสู้ให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยนับหนึ่งจนถึงสาม การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการออกแบบให้มีกลิ่นไอของกีฬาต่อสู้ให้มากที่สุด จึงทำให้โดยทั่วไปแล้ว การปล้ำรูปแบบนี้จะเน้นดำเนินอยู่บนเวทีมวย ผลการปล้ำจะมาจากการเอาชนะบนเวทีมวยเท่านั้น และไม่มีการนำสิ่งของมาใช้เป็นอาวุธในการปล้ำ การปล้ำรูปแบบนี้ได้รับการคิดค้นและพัฒนาในประเทศญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 เป็นที่รู้จักในวงกว้างและได้รับความนิยมผ่านสมาคมมวยปล้ำอาชีพ ที่มีชื่อว่า ยูนิเวอร์แซล เรสต์ลิง เฟเดอเรชัน (Universal Wrestling Federation) หรือ ยูดับเบิลยูเอฟ (UWF) จากประเทศญี่ปุ่น แม้ในปัจจุบัน สมาคมมวยปล้ำอาชีพ ยูดับเบิลยูเอฟ ได้ปิดตัวลงไปแล้ว แต่ก็ยังคงมีสมาคมมวยปล้ำอาชีพแห่งอื่นๆที่นำการปล้ำแบบชู้ตเรสต์ลิงไปใช้ต่อ และอาจมีการดัดแปลงรูปแบบกติกาให้แตกต่างไปจากเดิมเพื่อให้มีเอกลักษณ์หรือความแปลกใหม่ในการรับชมสำหรับผู้รับชม ในบางครั้ง ก็มีการนำรูปแบบการปล้ำนี้ไปผสมผสานกับการปล้ำแบบแท็กทีมธรรมดา รวมไปถึงการปล้ำในกรงเหล็ก

12. การปล้ำแบบชิงธง (Flag Match) - เป็นการปล้ำที่นักมวยปล้ำแต่ละฝ่ายจะมีผืนธงของฝ่ายตนเองอยู่ที่มุมตรงข้ามของเวทีมวย นักมวยปล้ำจะต้องฝ่าฟันการโจมตีหรือการขัดขวางจากคู่ต่อสู้ เพื่อไปนำผืนธงของฝ่ายตนเองมาถือไว้ให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยเห็น หรือโบกสะบัดผืนธงของฝ่ายตนเองให้กรรมการผู้ห้ามบนเวทีมวยเห็น จึงจะเป็นผู้ชนะ

มวยปล้ำอาชีพในประเทศไทย

[แก้]

มวยปล้ำอาชีพเข้ามาแพร่ภาพในประเทศไทย ทาง โทรทัศน์ ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2530, ทางเคเบิลทีวี และทาง วิดีโอและวีซีดี โดยผู้ที่บรรยายเทปมวยปล้ำอาชีพคนแรกในเมืองไทย ได้แก่ เจือ จักษุรักษ์ ต่อมามวยปล้ำอาชีพกลับมาเป็นที่นิยมในช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2540 โดยส่วนหนึ่งมาจากการบรรยายของ สุวัฒน์ กลิ่นเกษร หรือที่รู้จักกันในผู้ชมมวยปล้ำอาชีพในนาม "น้าติง"

สำหรับสมาคมมวยปล้ำอาชีพในไทยนั้น เคยมีชาวต่างชาติจัดตั้งค่ายมวยปล้ำอาชีพเกิดขึ้นในไทยในทศวรรษ 1990 ในชื่อค่าย "ไทย เรสต์ลิง เฟดเดอเรชั่น (Thai Wrestling Federation - TWF)[1] โดยจัดการปล้ำในพัทยา แต่ก็เป็นแค่ในระยะสั้นๆ จนในปี 2555 เอมิ ซากุระ (Emi Sakura) นักมวยปล้ำอาชีพหญิงชาวญี่ปุ่น ได้ก่อตั้งสมาคมมวยปล้ำอาชีพ นามว่า "กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง" (Gatoh Move Pro Wrestling[2]) ในประเทศไทย พร้อมทั้งฝึกสอนนักมวยปล้ำชาวไทย และจัดการแสดงมวยปล้ำเป็นระยะ

ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2562 กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง ยุติการดำเนินงานในประเทศไทย หลังจากนั้นก็ได้เกิดสมาคมมวยปล้ำที่แยกตัวออกมาหลังจากการยุติกิจการของกาโตห์ มูฟ ประเทศไทย 2 สมาคม ดังนี้

  1. เซทอัพ ไทยแลนด์ โปรเรสต์ลิง (Setup Thailand Pro Wrestling) ดำเนินงานโดยปรัชญ์ภูมิ บุญทัต - อดีตผู้จัดการทั่วไปของกาโตห์ มูฟ ประเทศไทย และปักษา - อดีตแชมป์ One And Only ของกาโตห์มูฟ ประเทศไทย
  2. ท๊อป โดโจ - ไทยแลนด์ ออริจินัล โปรเรสต์ลิง (TOP Dojo - Thailand Origin Pro Wrestling) ดำเนินงานโดยแท็กทีม "แบด คอมปานี" (ฺBad Company) อันประกอบด้วย "พี-นัทซ์" (P-Nutz) และ "โกเล็ม ไทย" (Golem Thai) อดีตแชมป์ Southeast Asia Tag Team ของสมาคม SPW ประเทศสิงคโปร์

รายชื่อบางส่วนของสมาคมมวยปล้ำอาชีพที่มีชื่อเสียง

[แก้]

สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากสหรัฐอเมริกา

  • World Wrestling Entertainment หรือ WWE ในอดีตใช้ชื่อ World Wrestling Federation หรือ WWF
  • World Championship Wrestling หรือ WCW
  • All Elite Wrestling หรือ AEW

สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศเม็กซิโก

  • ก็อนเซโค มุนดิอัล เดอ ลูชา ลิเบร (Consejo Mundial de Lucha Libre) หรือ เซ-เอเม-เอเล-เอเล (ซีเอ็มแอลแอล) (CMLL)
  • ลูชา ลิเบร ทริปเปิ้ลเอ เวิลด์ไวด์ (Lucha Libre AAA Worldwide)

สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศญี่ปุ่น

  • นิว เจแปน โปรเรสต์ลิง (New Japan Pro Wrestling) หรือ เอ็นเจพีดับเบิลยู (NJPW)
  • ออล เจแปน โปรเรสต์ลิง (All Japan Pro Wrestling) หรือ เอเจพีดับเบิลยู (AJPW)
  • โปรเรสต์ลิง โนอาห์ (Pro Wrestling Noah)
  • ดรากอน เกท โปรเรสต์ลิง (Dragon Gate Pro Wrestling)
  • บิ๊ก เจแปน โปรเรสต์ลิง (Big Japan Pro Wrestling) หรือ บีเจดับเบิลยู (BJW)
  • ฟรอนเทียร์ มาร์เชียลอาร์ต เรสต์ลิง (Frontier Martial-Arts Wrestling) หรือ เอฟเอ็มดับเบิลยู (FMW)

สมาคมมวยปล้ำอาชีพจากประเทศไทย

  • กาโตห์ มูฟ โปรเรสต์ลิง (Gatoh Move Pro Wrestling)

อ้างอิง

[แก้]
  • Catch: The Hold Not Taken (DVD). 2005.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  1. "[มนุษย์มวยปล้ำ] 'Thai Wrestling Federation' (TWF) สมาคมมวยปล้ำแห่งแรก? ของประเทศไทย". www.blockdit.com.
  2. https://www.facebook.com/GatohMoveProWrestling/