ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์"
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม) ล r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: oc:Aeropòrt Internacionau de O'Hare |
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม) ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 41 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 27 คน) | |||
บรรทัด 63: | บรรทัด 63: | ||
| stat3-header = |
| stat3-header = |
||
| stat3-data = |
| stat3-data = |
||
| footnotes = Sources: [[Federal Aviation Administration|FAA]]<ref name=FAA>{{FAA-airport|ID=ORD|use=PU|own=PU|site=04508.*A}}, effective March 15, 2007.</ref> and airport's website.<ref name=CAS>[http://www.flychicago.com/Statistics/stats/1208SUMMARY.pdf Monthly Operations, Passengers, Cargo Summary By Class], For December 2008 (published January 21, 2009)</ref> |
| footnotes = Sources: [[Federal Aviation Administration|FAA]]<ref name=FAA>{{FAA-airport|ID=ORD|use=PU|own=PU|site=04508.*A}}, effective March 15, 2007.</ref> and airport's website.<ref name=CAS>[http://www.flychicago.com/Statistics/stats/1208SUMMARY.pdf Monthly Operations, Passengers, Cargo Summary By Class] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120218063021/http://www.flychicago.com/Statistics/stats/1208SUMMARY.pdf |date=2012-02-18 }}, For December 2008 (published January 21, 2009)</ref> |
||
}} |
}} |
||
'''ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์''' (O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ [[ชิคาโก]], [[ |
'''ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกโอแฮร์''' (Chicago O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ [[ชิคาโก]], [[รัฐอิลลินอย]], [[สหรัฐอเมริกา]] ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบิน[[ยูไนเต็ดแอร์ไลน์]] และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบิน[[อเมริกันแอร์ไลน์]] บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation) |
||
ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2548 โอแฮร์เคยเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ในกรณีการขึ้น-ลงของเครื่องบิน เนื่องจากในปีนั้นกรมการบินสหรัฐอเมิรกาได้ลดเที่ยวบินลง<ref> |
ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2548 โอแฮร์เคยเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ในกรณีการขึ้น-ลงของเครื่องบิน เนื่องจากในปีนั้นกรมการบินสหรัฐอเมิรกาได้ลดเที่ยวบินลง<ref>{{Cite web |url=http://www.house.gov/transportation/aviation/09-09-04/09-09-04memo.html |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-03-26 |archive-date=2007-01-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070105235354/http://www.house.gov/transportation/aviation/09-09-04/09-09-04memo.html |url-status=dead }}</ref> เพื่อลดความล่าช้า จึงทำให้[[ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์-แจ็คสัน แอตแลนตา]]กลายมาเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ส่วนโอแฮร์ตกมาเป็นอันดับที่ 2 และยังเป็นอันดับที่ 2 ของโลก ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 76,248,911 คน ในปีพ.ศ. 2549 ลดลง 0.3% จากปีพ.ศ. 2548 <ref>{{Cite web |url=http://www.airliners.net/discussions/general_aviation/read.main/3296489/ |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-03-26 |archive-date=2008-03-23 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080323182043/http://www.airliners.net/discussions/general_aviation/read.main/3296489/ |url-status=dead }}</ref> ท่าอากาศยานโอแฮร์ยังให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศกว่า 60 เส้นทางบิน ในปีพ.ศ. 2548 โอแฮร์จัดเป็นประตูสู่สหรัฐอเมริกาลำดับที่ 4 เป็นรองจาก [[ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี]] ใน[[นิวยอร์ก]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส]] และ[[ท่าอากาศยานนานาชาติไมอามี]] ซึ่งมีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศมาใช้บริการมากกว่า |
||
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมของ[[อเมริกาเหนือ]]ตลอดช่วง 9 ปีที่ผ่านมาจากการจัดอันดับของนิตยสาร ''Business Traveler Magazine'' (พ.ศ. 2541- 2546) และ ''Global Traveler Magazine'' (พ.ศ. 2548-2549) สร้างประวัติศาสตร์การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโอแฮร์<ref>[http://www.flychicago.com/news/pdf/GlobalTraveler1-29-07.pdf Golbal Traveler] (pdf)</ref> |
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมของ[[อเมริกาเหนือ]]ตลอดช่วง 9 ปีที่ผ่านมาจากการจัดอันดับของนิตยสาร ''Business Traveler Magazine'' (พ.ศ. 2541- 2546) และ ''Global Traveler Magazine'' (พ.ศ. 2548-2549) สร้างประวัติศาสตร์การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโอแฮร์<ref>[http://www.flychicago.com/news/pdf/GlobalTraveler1-29-07.pdf Golbal Traveler] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070703081104/http://www.flychicago.com/news/pdf/GlobalTraveler1-29-07.pdf |date=2007-07-03 }} (pdf)</ref> |
||
ถึงแม้ว่าโอแฮร์จะเป็นท่าอากาศยานหลัก แต่[[ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์]] ซึ่งเป็นท่าอากาศยานอันดับสอง อยู่ใกล้กับย่านเศรษฐกิจของชิคาโก (Chicago Loop) มากกว่า |
ถึงแม้ว่าโอแฮร์จะเป็นท่าอากาศยานหลัก แต่[[ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์]] ซึ่งเป็นท่าอากาศยานอันดับสอง อยู่ใกล้กับย่านเศรษฐกิจของชิคาโก (Chicago Loop) มากกว่า |
||
บรรทัด 82: | บรรทัด 82: | ||
== อุบัติเหตุ == |
== อุบัติเหตุ == |
||
* 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 [[อเมริกันแอร์ไลน์]] เที่ยวบิน 191 ตกขณะนำเครื่องขึ้น เพื่อไปยัง[[ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส]] ใน [[ลอสแอนเจลิส]] [[ |
* 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 [[อเมริกันแอร์ไลน์]] เที่ยวบิน 191 ตกขณะนำเครื่องขึ้น เพื่อไปยัง[[ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส]] ใน [[ลอสแอนเจลิส]] [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]] ผู้โดยสาร 271 คน และอีก 2 คนบนภาคพื้นดิน เสียชีวิต เหตุการณ์ครั้งนี้ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีผู้เสียชีวิตจากเครื่องบินตกมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา |
||
* 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 สมาชิกกลุ่ม[[ |
* 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 สมาชิกกลุ่ม[[อัลกออิดะฮ์]] โจเซ่ พาดิลลา (Jose Padilla) ถูกจับกุมขณะที่เครื่องบินที่เขานั่งมาลงจอดเพื่อตรวจค้นระเบิดที่ติดตั้งไว้ตามการรายงาน |
||
* 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 พนักงานของ[[ยูไนเต็ดแอร์ไลน์]] ได้แจ้งความว่ามองเห็นเครื่องบินรูปร่างคล้านจาน พนักงานเหล่านั้น รวมทั้งนักบินกล่าวว่ามองเห็นวัตถุลอยเหนือท่าอากาศยานก่อนที่พุ่งตัวผ่านกลีบเมฆขึ้นไป การท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาได้รับรายงานว่ามีเจ้าหน้าที่ระดับสูงได้โทรมาที่หอบังคับการบินโอแฮร์และสอบถามถึงบุคคลที่ได้มองเห็นวัตถุประหลาด แต่เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินได้กล่าวตอบอะไร และจากการตรวจสอบเรดาห์ก็ไม่พบวัตถุอะไรที่ |
* 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 พนักงานของ[[ยูไนเต็ดแอร์ไลน์]] ได้แจ้งความว่ามองเห็นเครื่องบินรูปร่างคล้านจาน พนักงานเหล่านั้น รวมทั้งนักบินกล่าวว่ามองเห็นวัตถุลอยเหนือท่าอากาศยานก่อนที่พุ่งตัวผ่านกลีบเมฆขึ้นไป การท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาได้รับรายงานว่ามีเจ้าหน้าที่ระดับสูงได้โทรมาที่หอบังคับการบินโอแฮร์และสอบถามถึงบุคคลที่ได้มองเห็นวัตถุประหลาด แต่เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินได้กล่าวตอบอะไร และจากการตรวจสอบเรดาห์ก็ไม่พบวัตถุอะไรที่ผิดปกติ |
||
== แผนปรับปรุง == |
== แผนปรับปรุง == |
||
ปริมาณการใช้บริการจำนวนมากและปัญหาความหนาแน่นทำให้มีการยกเลิกเที่ยวบิน และทำให้เกิดความล่าช้าที่โอแฮร์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบินทั่วสหรัฐอเมริกา มีรายงานอย่างเป็นทางการว่าโอแฮร์เป็นท่าอากาศยานที่ตรงต่อเวลาน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยวัดจากสัดส่วนของเที่ยวบินที่เกิดความล่าช้า ในปีพ.ศ. 2547 ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ และอเมริกัน แอร์ไลน์ มีข้อตกลงร่วมกันที่จะปรับเปลี่ยนตารางเวลาบินเพื่อลดความคับคั่งทั้งขาเข้าและขาออก และเพราะการจราจรทั้งขาเข้า ขาออก และท่าอากาศยานบริเวณใกล้เคียง เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินของโอแฮร์และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอื่นๆต้องทำงานหนักมากที่สุดในโลก เนื่องด้วยปริมาณเที่ยวบินจำนวนมากต่อชั่วโมง |
ปริมาณการใช้บริการจำนวนมากและปัญหาความหนาแน่นทำให้มีการยกเลิกเที่ยวบิน และทำให้เกิดความล่าช้าที่โอแฮร์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบินทั่วสหรัฐอเมริกา มีรายงานอย่างเป็นทางการว่าโอแฮร์เป็นท่าอากาศยานที่ตรงต่อเวลาน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยวัดจากสัดส่วนของเที่ยวบินที่เกิดความล่าช้า ในปีพ.ศ. 2547 ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ และอเมริกัน แอร์ไลน์ มีข้อตกลงร่วมกันที่จะปรับเปลี่ยนตารางเวลาบินเพื่อลดความคับคั่งทั้งขาเข้าและขาออก และเพราะการจราจรทั้งขาเข้า ขาออก และท่าอากาศยานบริเวณใกล้เคียง เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินของโอแฮร์และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอื่นๆต้องทำงานหนักมากที่สุดในโลก เนื่องด้วยปริมาณเที่ยวบินจำนวนมากต่อชั่วโมง |
||
เมืองชิคาโกได้อนุมัติวงเงินทุน 6 พันล้าน |
เมืองชิคาโกได้อนุมัติวงเงินทุน 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของท่าอากาศยานอีกร้อยละ 60 และลดความล่าช้าลงประมาณร้อยละ 79<ref>{{Cite web |url=http://modernization.ohare.com/program.htm |title=แผนปรับปรุงท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ |access-date=2007-03-26 |archive-date=2006-01-07 |archive-url=https://web.archive.org/web/20060107121136/http://modernization.ohare.com/program.htm |url-status=dead }}</ref> โดยแผนงานนี้ได้รับอนุมัติจากการท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งเกี่ยงข้องกับการขยายพื้นที่ของท่าอากาศยานและอาคารผู้โดยสาร โดยจะมีทางวิ่ง 4 เส้น ที่สร้างเพิ่ม และรื้อถอนออกไป 3 เส้น ซึ่งจะทำให้มีทางวิ่งขนานกันทั้งหมด 8 เส้น คล้ายกับกรณีของ[[ท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ทเวิร์ธ|ดัลลาส]] โดยจะทำให้โอแฮร์ขยายขีดความสามารถที่จำกัดเพื่อที่โอแฮร์จะไม่เพลี้ยงพล้ำให้กับท่าอากาศยานใดๆ ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารในอนาคต แผนการปรับปรุงนี้ได้เริ่มลงมือก่อสร้างแล้ว หลังจากที่เกิดความล่าช้ามานาน และทางวิ่งใหม่เส้นแรกคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2551-2552 และจะขยายอาคารผู้โดยสาร 3 และ 5 ส่วนอาคารผู้โดยสารหลังใหม่จะตั้งอยู่สุดทางฝั่งตะวันตกของพื้นที่ พร้อมกับทางเข้าออกใหม่ อย่าไรก็ตามจะต้องมีการเวนคืนที่ดินบางส่วน ประมาณ 2,800 ครัวเรือน โครงการนี้จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้สามารถรองรับการจราจรได้มากกว่า 3,800 เที่ยวบินต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันที่ประมาณ 2,700 เที่ยวบินต่อวัน และจะทำให้ความสามารถในการรองรับจำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นตามไปด้วย |
||
{{legend|#1c12e5|ทางวิ่งปัจจุบันนี้}}{{legend|#16e80c|ทางวิ่งใหม่}}{{legend|#eda213|ทางวิ่งที่จะรื้อออก}} |
{{legend|#1c12e5|ทางวิ่งปัจจุบันนี้}}{{legend|#16e80c|ทางวิ่งใหม่}}{{legend|#eda213|ทางวิ่งที่จะรื้อออก}} |
||
<center><gallery> |
<center><gallery> |
||
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase1. |
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase1 corrected.jpg|ระยะที่ 1 ของแผนปรับปรุง |
||
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase2.png|ระยะที่ 2 |
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase2-corrected.png|ระยะที่ 2 |
||
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase3.png|ระยะที่ 3 |
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Phase3.png|ระยะที่ 3 |
||
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Final.png|ทิศทางทางวิ่งเมื่อเสร็จสิ้นตามแผน |
ภาพ:O'Hare International Airport (USGS) Final.png|ทิศทางทางวิ่งเมื่อเสร็จสิ้นตามแผน |
||
บรรทัด 100: | บรรทัด 100: | ||
=== การต่อต้าน และทางเลือกอื่น === |
=== การต่อต้าน และทางเลือกอื่น === |
||
มีการรวมตัวกันของชุมชนเบนเซนวิลล์ และเอลก์กรูฟวิลเลจ ในรัฐ |
มีการรวมตัวกันของชุมชนเบนเซนวิลล์ และเอลก์กรูฟวิลเลจ ในรัฐอิลลินอย ขึ้นเป็นคณะกรรมการชุมชนรอบบเมืองโอแฮร์ (Suburban O'Hare Commission)<ref>{{Cite web |url=http://www.suburban-ohare.org/ |title=www.suburban-ohare.org |access-date=2021-08-16 |archive-date=2008-05-09 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080509174621/http://www.suburban-ohare.org/ |url-status=dead }}</ref> เพื่อต่อต้านแผนปรับปรุงท่าอากาศยาน เพราะจะทำให้บ้านเรือน และธุรกิจร้านค้าต้องย้ายออกไปจากพื้นที่ ถึงแม้ว่าข้อเรียกร้องจะไม่ประสบผลสำเร็จมากนัก แต่ก็ได้คำสั่งศาลให้คุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการขยายท่าอากาศยานออกไปก่อน อย่างไรก็ตามคำสั่งคุ้มครองก็ยกเลิกไปในภายหลังไม่นานนัก นอกจากนี้ทางคณะกกรมการชุมชนได้ยื่นข้อเสนอให้หันไปพัฒนา[[ท่าอากาศยานอับราฮัม ลิงคอล์น เนชั่นเนล]]แทน เพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ แต่ไม่มีสายการบินใดตอบรับข้อเสนอนี้ |
||
ในปีพ.ศ. 2538 เมืองชิคาโก และเมือง[[แกรี่]] ใน[[ |
ในปีพ.ศ. 2538 เมืองชิคาโก และเมือง[[แกรี่]] ใน[[รัฐอินดีแอนา]] ได้จับมือกันตั้งกรรมการบริหาร[[ท่าอากาศยานนานาชาติแกรี่/ชิคาโก]]ขึ้นมาปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้ขึ้นมาเป็นท่าอากาศยานอันดับ 3 ที่รองรับเมืองชิคาโก แต่แผนปฏิบัตินี้มีขนาดเล็กกว่าข้อเสนอปรับปรุงท่าอากาศยานอับบราฮัม ลินคอล์น แต่แกรี่/ชิคาโกก็มีความพร้อมตรงที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าชิคาโกมิดเวย์ รวมทั้งมีทางวิ่งให้บริการที่ยาวกว่าทางวิ่งที่ยาวที่สุดของชิคาโกมิดเวย์ อย่างไรก็ตามรัฐบาลรัฐอิลลินอยก็ไม่ได้เห็นพ้องกับเมืองชิคาโกเท่าใดนัก มีเพียงผู้ว่าการรัฐอินเดียนา มิตช์ แดเนียลส์ ที่ให้การสนับสนุนเงินทุนพัฒนาท่าอากาศยาน ซึ่งขณะนี้กำลังก่อสร้างขยายขนาดทางวิ่งอยู่ และองค์กรการบินสหรัฐอเมริกา (FAA) ก็เห็นชอบกับโครงการนี้ และเห็นความจำเป็นในการขยายขีดความสามารถทั้งของโอแฮร์ และแกรี่/ชิคาโก เพื่อรองรับเมืองชิคาโก |
||
นอกจากนี้ยังมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโก/ร็อคฟอร์ด]] ในเมือง[[ร็อคฟอร์ด]] ที่มีความพยายามเสนอตัวเป็นทางเลือกเพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ ปัญหาที่สำคัญของท่าอากาศยานแห่งนี้ก็คือ การจราจรระหว่างท่าอากาศยานกับโอแฮร์กับตัวเมืองชิคาโก ที่ยังไม่พร้อมที่ระรองรับการขยายตัว แต่นายกเทศมนตรีคนปัจจุบันของเมืองร็อคฟอร์ด แลร์รี่ มอร์ริสซีย์ ก็ได้เร่งสร้างระบบรถไฟความเร็วสูงระหว่างชิคาโก/ร็อคฟอร์ดและโอแฮร์ เพื่อสร้างโอกาสของท่าอากาศยานในอนาคต |
นอกจากนี้ยังมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโก/ร็อคฟอร์ด]] ในเมือง[[ร็อคฟอร์ด]] ที่มีความพยายามเสนอตัวเป็นทางเลือกเพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ ปัญหาที่สำคัญของท่าอากาศยานแห่งนี้ก็คือ การจราจรระหว่างท่าอากาศยานกับโอแฮร์กับตัวเมืองชิคาโก ที่ยังไม่พร้อมที่ระรองรับการขยายตัว แต่นายกเทศมนตรีคนปัจจุบันของเมืองร็อคฟอร์ด แลร์รี่ มอร์ริสซีย์ ก็ได้เร่งสร้างระบบรถไฟความเร็วสูงระหว่างชิคาโก/ร็อคฟอร์ดและโอแฮร์ เพื่อสร้างโอกาสของท่าอากาศยานในอนาคต |
||
[[ท่าอากาศยานนานาชาติเจเนรัลมิตเชลล์]] ใน[[มิลวอกี]] [[ |
[[ท่าอากาศยานนานาชาติเจเนรัลมิตเชลล์]] ใน[[มิลวอกี]] [[รัฐวิสคอนซิน]] เป็นท่าอากาศยานอีกแห่งหนึ่งที่เสนอตัวเป็นทางเลือกของเมืองชิคาโก และเมืองทางตอนเหนือของอิลลินอยส์ และยังมีระบบรถไฟ[[แอมแทร็ก]] เชื่อมต่อระหว่างท่าอากาศยานมิตเชลล์และเมืองชิคาโกอยู่แล้ว |
||
== อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน == |
== อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน == |
||
บรรทัด 116: | บรรทัด 116: | ||
อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศเดิมที่สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2498 ถูกแทนที่ด้วยอาคารผู้โดยสาร 1 ในปัจจุบันเมื่อปีพ.ศ. 2530 ซึ่งออกแบบโดย[[เฮลมุต ยาห์น]] |
อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศเดิมที่สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2498 ถูกแทนที่ด้วยอาคารผู้โดยสาร 1 ในปัจจุบันเมื่อปีพ.ศ. 2530 ซึ่งออกแบบโดย[[เฮลมุต ยาห์น]] |
||
[[ไฟล์:O'Hare_Terminal_1.jpg|thumb|250px|right|อาคารผู้โดยสาร 1 - คองคอส บี]] |
[[ไฟล์:O'Hare_Terminal_1.jpg|thumb|250px|right|อาคารผู้โดยสาร 1 - คองคอส บี]] |
||
[[ไฟล์: |
[[ไฟล์:OHare_Airport_Terminal_One_B_to_C_Tunnel.jpg|thumb|250px|right|ทางเชื่อมระหว่างคองคอสบีและคองคอสซี]] |
||
==== อาคารเทียบเครื่องบิน บี ==== |
==== อาคารเทียบเครื่องบิน บี ==== |
||
* [[ลุฟต์ฮันซา]] (แฟรงก์เฟิร์ต, มิวนิก) |
* [[ลุฟต์ฮันซา]] (แฟรงก์เฟิร์ต, มิวนิก) |
||
บรรทัด 188: | บรรทัด 188: | ||
อาคารผู้โดยสาร 5 จะให้บริการสำหรับเที่ยวระหว่างประเทศทุกเที่ยวบิน ยกเว้นเที่ยวบินที่มาจากท่าอากาศยานที่มีศูนย์ตรวจเชคล่วงหน้าของศุลกากรสหรัฐอเมริกา (US border preclearance) |
อาคารผู้โดยสาร 5 จะให้บริการสำหรับเที่ยวระหว่างประเทศทุกเที่ยวบิน ยกเว้นเที่ยวบินที่มาจากท่าอากาศยานที่มีศูนย์ตรวจเชคล่วงหน้าของศุลกากรสหรัฐอเมริกา (US border preclearance) |
||
==== อาคารเทียบเครื่องบิน เอ็ม ==== |
==== อาคารเทียบเครื่องบิน เอ็ม ==== |
||
* [[การบินไทย]] (กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, โซล-อินชอน) |
|||
* [[โกเรียนแอร์]] (โซล-อินชอน) |
* [[โกเรียนแอร์]] (โซล-อินชอน) |
||
* [[เคย์แมนแอร์เวย์]] (แกรนด์เคย์แมน) |
* [[เคย์แมนแอร์เวย์]] (แกรนด์เคย์แมน) |
||
* [[เอมิเรตส์แอร์ไลน์]] (ดูไบ) |
|||
* [[เคแอลเอ็ม]] (อัมสเตอร์ดัม) |
* [[เคแอลเอ็ม]] (อัมสเตอร์ดัม) |
||
* [[เจแปนแอร์ไลน์]] (โตเกียว-นาริตะ) |
* [[เจแปนแอร์ไลน์]] (โตเกียว-นาริตะ) |
||
บรรทัด 196: | บรรทัด 198: | ||
* [[บริติช แอร์เวย์]] (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) |
* [[บริติช แอร์เวย์]] (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) |
||
* [[บีเอ็มไอ]] (แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ)) |
* [[บีเอ็มไอ]] (แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ)) |
||
* [[ปากีสถานอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์]] (การาจี, ละฮอร์, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), |
* [[ปากีสถานอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์]] (การาจี, ละฮอร์, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), อิสลามาบาด) |
||
* [[เม็กซิกานา]] (กัวดาลาจารา, ซาเคตแคส, มอนเตอร์เรย์, |
* [[เม็กซิกานา]] (กัวดาลาจารา, ซาเคตแคส, มอนเตอร์เรย์, โมเรเลีย, เลออน) |
||
* [[ยูเอสเอ 3000]] (แคนคูน (เช่าเหมาลำ), ปุนตาคานา, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ทไมเยอร์, มอนเตโกเบย์, เวนต์ปีเตอร์สเบิร์ก/เคลียวอเตอร์, ออร์แลนโด, ฮัวตูลโต (เช่าเหมาลำ), ฮิกซ์ตาปา/ซิฮัวตาเนโจ) |
* [[ยูเอสเอ 3000]] (แคนคูน (เช่าเหมาลำ), ปุนตาคานา, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ทไมเยอร์, มอนเตโกเบย์, เวนต์ปีเตอร์สเบิร์ก/เคลียวอเตอร์, ออร์แลนโด, ฮัวตูลโต (เช่าเหมาลำ), ฮิกซ์ตาปา/ซิฮัวตาเนโจ) |
||
* [[ |
* [[รอยัลจอร์แดเนียน]] (อัมมาน) |
||
* [[เวอร์จิ้น แอตแลนติก แอร์เวย์]] (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) (เริ่ม 23 เมษายน 2550) |
* [[เวอร์จิ้น แอตแลนติก แอร์เวย์]] (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) (เริ่ม 23 เมษายน 2550) |
||
* [[ |
* [[สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์]] (ซูริก) |
||
* [[ออสเตรียนแอร์ไลน์]] (เวียนนา) (เริ่ม 23 พฤษภาคม 2550) |
* [[ออสเตรียนแอร์ไลน์]] (เวียนนา) (เริ่ม 23 พฤษภาคม 2550) |
||
* [[อัลอิตาเลีย]] (มิลาน-มัลเปนซา) |
* [[อัลอิตาเลีย]] (มิลาน-มัลเปนซา) |
||
* [[เอเชียนาแอร์ไลน์]] (โซล-อินชอน) |
* [[เอเชียนาแอร์ไลน์]] (โซล-อินชอน) |
||
* [[เอ |
* [[เอล อัล]] (เทลอาวีฟ) (จนถึงวันที่ 17 เมษายน 2550) |
||
* [[สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม|เอสเอเอส]] (โคเปนเฮเกน, |
* [[สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม|เอสเอเอส]] (โคเปนเฮเกน, สต็อกโฮล์ม-อาร์แลนดา) |
||
* [[แอร์เจไมกา]] (มอนเตโกเบย์) |
* [[แอร์เจไมกา]] (มอนเตโกเบย์) |
||
* [[แอร์ฟรานซ์]] (ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล) |
* [[แอร์ฟรานซ์]] (ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล) |
||
* [[เวียดนามแอร์ไลน์]] (ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี้) |
|||
* [[แอร์ลินกัส]] (ดับลิน, แชนนอน) |
* [[แอร์ลินกัส]] (ดับลิน, แชนนอน) |
||
* [[แอร์อินเดีย]] (เดลลี, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ไฮเดอราบัด) |
* [[แอร์อินเดีย]] (เดลลี, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ไฮเดอราบัด) |
||
บรรทัด 246: | บรรทัด 249: | ||
== สิ่งอำนวยความสะดวก == |
== สิ่งอำนวยความสะดวก == |
||
=== ทางวิ่ง === |
=== ทางวิ่ง === |
||
[[ไฟล์: |
[[ไฟล์:ORD Airport Diagram.svg|thumb|250px|right|แผนผังท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์]] |
||
มีทางวิ่งทั้งหมด 6 เส้น วางตัวขนานกันอยู่ 3 คู่ ใน 3 ทิศทาง ทางวิ่งที่ยาวที่สุด คือ ทางวิ่ง 14R/32L ขนาด 3,962 x 60 เมตร (13,000 x 200 ฟุต) ทางวิ่ง 14L, 14R, 27L และ 27R ใช้ระบบลงจอด (Instrument Landing System) ระดับที่ 3 ส่วนทางวิ่งที่เหลือยกเว้นทางวิ่ง 04L ใช้เต็มระบบ |
มีทางวิ่งทั้งหมด 6 เส้น วางตัวขนานกันอยู่ 3 คู่ ใน 3 ทิศทาง ทางวิ่งที่ยาวที่สุด คือ ทางวิ่ง 14R/32L ขนาด 3,962 x 60 เมตร (13,000 x 200 ฟุต) ทางวิ่ง 14L, 14R, 27L และ 27R ใช้ระบบลงจอด (Instrument Landing System) ระดับที่ 3 ส่วนทางวิ่งที่เหลือยกเว้นทางวิ่ง 04L ใช้เต็มระบบ |
||
ทางวิ่งของโอแฮร์มีจุดตัดของทางวิ่งจำนวนมาก และสามารถก่อให้เกิดปัญหาได้จากภาวะที่สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย หรือการจราจรที่คับคั่ง หรือกระแสลม ดังนั้นเจ้าหน้าหอบังคับการบินจึงต้องรอจนกว่าทางวิ่งจะว่างโดยตลอด ถึงจะอนุญาตให้ทางวิ่งอีกเส้นที่ตัดกันใช้งานได้ และหากเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินทำงานผิดพลาด ก็อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ และในช่วงหลายปีหลังมาอุบัติเหตุที่เครื่องบินเกือบจะเฉี่ยวหรือชน หรือต้องหักหลบจนเครื่องไถลออกนอกทางวิ่งอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นแผนปรับปรุงที่ผ่านการอนุมัติไปแล้ว ก็จะช่วยแก้ปัญหากรณีนี้ไปได้อย่างมาก |
ทางวิ่งของโอแฮร์มีจุดตัดของทางวิ่งจำนวนมาก และสามารถก่อให้เกิดปัญหาได้จากภาวะที่สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย หรือการจราจรที่คับคั่ง หรือกระแสลม ดังนั้นเจ้าหน้าหอบังคับการบินจึงต้องรอจนกว่าทางวิ่งจะว่างโดยตลอด ถึงจะอนุญาตให้ทางวิ่งอีกเส้นที่ตัดกันใช้งานได้ และหากเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินทำงานผิดพลาด ก็อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ และในช่วงหลายปีหลังมาอุบัติเหตุที่เครื่องบินเกือบจะเฉี่ยวหรือชน หรือต้องหักหลบจนเครื่องไถลออกนอกทางวิ่งอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นแผนปรับปรุงที่ผ่านการอนุมัติไปแล้ว ก็จะช่วยแก้ปัญหากรณีนี้ไปได้อย่างมาก |
||
ทางวิ่ง 3 ใน 4 เส้นเริ่มแรกตั้งแต่ปีพ.ศ. 2486 ได้มีการปรับเปลี่ยนให้ตรงตามมาตรฐานปัจจุบัน แล้วก็ได้มีการสร้างทางวิ่งเพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2498, 2512 และ 2514 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2546 ทางวิ่งเท่า 18/36 ได้ยกเลิกการใช้งานเป็นการถาวร |
ทางวิ่ง 3 ใน 4 เส้นเริ่มแรกตั้งแต่ปีพ.ศ. 2486 ได้มีการปรับเปลี่ยนให้ตรงตามมาตรฐานปัจจุบัน แล้วก็ได้มีการสร้างทางวิ่งเพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2498, 2512 และ 2514 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2546 ทางวิ่งเท่า 18/36 ได้ยกเลิกการใช้งานเป็นการถาวร ปัจจุบันเป็นทางขับ GG แทน |
||
แผนปรับปรุงท่าอากาศยาน จะรือถอนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และสร้างทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก เพิ่มขึ้นอีก 4 เส้น พร้อมทั้งขยายทางวิ่งเดิมทีวางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก 2 เส้น ส่วนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคงใช้งานตามเดิม |
แผนปรับปรุงท่าอากาศยาน จะรือถอนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และสร้างทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก เพิ่มขึ้นอีก 4 เส้น พร้อมทั้งขยายทางวิ่งเดิมทีวางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก 2 เส้น ส่วนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคงใช้งานตามเดิม |
||
บรรทัด 259: | บรรทัด 262: | ||
เนื่องจากมาตรการควบคุมเสียง โอแฮร์จึงได้รับอนุญาตให้ใช้ได้เพียงทางวิ่งเดียวระหว่างเวลา 24.00 - 06.00 น. |
เนื่องจากมาตรการควบคุมเสียง โอแฮร์จึงได้รับอนุญาตให้ใช้ได้เพียงทางวิ่งเดียวระหว่างเวลา 24.00 - 06.00 น. |
||
ทางวิ่งใหม่ตามแผนปรับปรุงท่าอากาศยานได้เตรียมให้สามารถรองรับเครื่องเอ 380 ได้ โดยก่อสร้างให้แข็งแรงขึ้นและกว้างขึ้นเพื่อรองรับเครื่องบนขนาดใหญ่ได้ และเนื่องจากแผนปรับปรุง นับตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ทางวิ่ง 09R/27L ได้เปลี่ยนชื่อเป็น 10/28 และนับตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ทางวิ่ง 9L/27R จะเปลี่ยนเป็น 9R/27L และประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทางวิ่งเส้นใหม่ด้านเหนือ จะเรียกว่า 9L/27R<ref>[http://www.flychicago.com/ohare/runways/plans.pdf การปรับเปลี่ยนชื่อเรียกทางวิ่ง] (pdf)</ref> |
ทางวิ่งใหม่ตามแผนปรับปรุงท่าอากาศยานได้เตรียมให้สามารถรองรับเครื่องเอ 380 ได้ โดยก่อสร้างให้แข็งแรงขึ้นและกว้างขึ้นเพื่อรองรับเครื่องบนขนาดใหญ่ได้ และเนื่องจากแผนปรับปรุง นับตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ทางวิ่ง 09R/27L ได้เปลี่ยนชื่อเป็น 10/28 และนับตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ทางวิ่ง 9L/27R จะเปลี่ยนเป็น 9R/27L และประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทางวิ่งเส้นใหม่ด้านเหนือ จะเรียกว่า 9L/27R<ref>[http://www.flychicago.com/ohare/runways/plans.pdf การปรับเปลี่ยนชื่อเรียกทางวิ่ง] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080411075157/http://www.flychicago.com/ohare/runways/plans.pdf |date=2008-04-11 }} (pdf)</ref> |
||
=== การเดินทาง === |
=== การเดินทาง === |
||
บรรทัด 275: | บรรทัด 278: | ||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
{{ |
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|O'Hare_International_Airport|{{PAGENAME}}}} |
||
* [http://www.ohare.com/Ohare/OhareHomepage.shtm ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์] {{en icon}} |
* [http://www.ohare.com/Ohare/OhareHomepage.shtm ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170704072342/http://www.ohare.com/Ohare/OhareHomepage.shtm |date=2017-07-04 }} {{en icon}} |
||
* [http://www.ohare.com/MasterPlan แผนการปรับปรุงท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์] {{en icon}} |
* [http://www.ohare.com/MasterPlan แผนการปรับปรุงท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070416141920/http://www.ohare.com/MasterPlan/ |date=2007-04-16 }} {{en icon}} |
||
[[หมวดหมู่:ท่าอากาศยานใน |
[[หมวดหมู่:ท่าอากาศยานในรัฐอิลลินอย|โอแฮร์]] |
||
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในรัฐอิลลินอยส์]] |
|||
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในชิคาโก]] |
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในชิคาโก]] |
||
[[หมวดหมู่:ท่าอากาศยานที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2487]] |
|||
[[ar:مطار أوهير الدولي]] |
|||
[[ca:Aeroport Internacional O'Hare]] |
|||
[[cs:O'Hare International Airport]] |
|||
[[da:Chicago O'Hare International Airport]] |
|||
[[de:O’Hare International Airport]] |
|||
[[en:O'Hare International Airport]] |
|||
[[eo:Flughaveno O'Hare]] |
|||
[[es:Aeropuerto Internacional Chicago-O'Hare]] |
|||
[[eu:O'Hare nazioarteko aireportua]] |
|||
[[fa:فرودگاه بینالمللی اوهیر شیکاگو]] |
|||
[[fi:O'Haren kansainvälinen lentoasema]] |
|||
[[fr:Aéroport international O'Hare de Chicago]] |
|||
[[he:נמל התעופה שיקגו או'הייר]] |
|||
[[hu:O’Hare nemzetközi repülőtér]] |
|||
[[id:Bandar Udara Internasional O'Hare]] |
|||
[[it:Aeroporto Internazionale di Chicago O'Hare]] |
|||
[[ja:シカゴ・オヘア国際空港]] |
|||
[[ko:오헤어 국제공항]] |
|||
[[ml:ഒ'ഹെയർ അന്താരാഷ്ട്ര വിമാനത്താവളം]] |
|||
[[mr:ओ'हेर आंतरराष्ट्रीय विमानतळ]] |
|||
[[nl:O'Hare International Airport]] |
|||
[[no:O'Hare internasjonale lufthavn]] |
|||
[[oc:Aeropòrt Internacionau de O'Hare]] |
|||
[[pl:Port lotniczy Chicago-O'Hare]] |
|||
[[pt:Aeroporto Internacional O'Hare]] |
|||
[[ro:Aeroportul Internațional Chicago O'Hare]] |
|||
[[ru:Международный аэропорт О’Хара]] |
|||
[[simple:O'Hare International Airport]] |
|||
[[sk:O'Hare International Airport]] |
|||
[[sv:O'Hare International Airport]] |
|||
[[vi:Sân bay Quốc tế O'Hare]] |
|||
[[zh:奥黑尔国际机场]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:41, 13 พฤศจิกายน 2567
Chicago O'Hare International Airport | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลสำคัญ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
การใช้งาน | สาธารณะ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
เจ้าของ | City of Chicago | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินงาน | Chicago Airport System | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
พื้นที่บริการ | Chicago, Illinois, USA | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฐานการบิน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
เหนือระดับน้ำทะเล | 668 ฟุต / 204 เมตร | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ | flychicago.com/Ohare/... | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
แผนที่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทางวิ่ง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถิติ (2009) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||
ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกโอแฮร์ (Chicago O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ ชิคาโก, รัฐอิลลินอย, สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation)
ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2548 โอแฮร์เคยเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ในกรณีการขึ้น-ลงของเครื่องบิน เนื่องจากในปีนั้นกรมการบินสหรัฐอเมิรกาได้ลดเที่ยวบินลง[3] เพื่อลดความล่าช้า จึงทำให้ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์-แจ็คสัน แอตแลนตากลายมาเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ส่วนโอแฮร์ตกมาเป็นอันดับที่ 2 และยังเป็นอันดับที่ 2 ของโลก ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 76,248,911 คน ในปีพ.ศ. 2549 ลดลง 0.3% จากปีพ.ศ. 2548 [4] ท่าอากาศยานโอแฮร์ยังให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศกว่า 60 เส้นทางบิน ในปีพ.ศ. 2548 โอแฮร์จัดเป็นประตูสู่สหรัฐอเมริกาลำดับที่ 4 เป็นรองจาก ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี ในนิวยอร์ก, ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส และท่าอากาศยานนานาชาติไมอามี ซึ่งมีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศมาใช้บริการมากกว่า
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมของอเมริกาเหนือตลอดช่วง 9 ปีที่ผ่านมาจากการจัดอันดับของนิตยสาร Business Traveler Magazine (พ.ศ. 2541- 2546) และ Global Traveler Magazine (พ.ศ. 2548-2549) สร้างประวัติศาสตร์การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโอแฮร์[5]
ถึงแม้ว่าโอแฮร์จะเป็นท่าอากาศยานหลัก แต่ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์ ซึ่งเป็นท่าอากาศยานอันดับสอง อยู่ใกล้กับย่านเศรษฐกิจของชิคาโก (Chicago Loop) มากกว่า
ประวัติ
[แก้]ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2485-2486 เป็นโรงงานผลิตเครื่องดักลาส ซี-54 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุที่เลือกที่ดินบริเวณนี้ก็เพราะว่าอยู่ใกล้กับตัวเมืองและการคมนาคมขนส่ง ด้วยพื้นที่ขนาด 180,000 ตารางเมตร (ประมาณ 2 ล้านตารางฟุต) ต้องการคมนาคมเข้าออกสะดวกสำหรับแรงงานจากเมืองที่กลายมาเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ และมีทางรถไฟรองรับ ชุมชนออร์คาร์ด เพลส (Orchard Place) เป็นชุมชนเล็กๆที่ตั้งอยู่บริเวณนั้นมาก่อน จึงเรียกชื่อบริเวณนี้ว่าท่าอากาศยานออร์คาร์ด เพลส/ดักลาส ฟิลด์ (Orchard Place Airport/Douglas Field) ในช่วงระหว่างสงคราม (และเป็นที่มาของรหัส IATA - ORD) และยังเป็นคลังสรรพาวุธของการบิน 803 ซึ่งเก็บเครื่องบินหายาก หรือเครื่องบินรุ่นทดลองไว้ รวมทั้งเครื่องบินของฝ่ายข้าศึกที่ยึดมาได้ โดยเครื่องบินประวัติศาสตตร์เหล่านั้นได้นำไปเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์อากาศยานแห่งชาติ (National Air Museum) ในภายหลัง
สัญญาของบริษัทดักลาส แอร์คราฟต์ สิ้นสุดลงในปีพ.ศ. 2488 และแม้ว่าตามแผนการจะสร้างที่ผลิตเครื่องบินพาณิชย์ แต่บริษัทก็เลือกที่ผลิตจากทางภาคตะวันตกมากกว่า และถึงแม้บริษัทดักลาสจะออกจากพื้นที่ไป แต่ชื่อของท่าอากาศยานยังคงใช้ท่าอากาศยานออร์คาร์ด เพลส และในปีพ.ศ. 2488 นั้นเอง เมืองชิคาโกได้เข้ามาใช้พื้นที่แห่งนี้สำหรับรองรับความต้องการการบินในอนาคต และถึงแม้ว่ารหัสสนามบิน IATA จะยังคงใช้ ORD ที่มีที่มาจากชื่อเดิม แต่ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อท่าอากาศยานใหม่ในปีพ.ศ. 2492 ตามชื่อของ เอ็ดเวิร์ด บุตช์ โอแฮร์ (Edward "Butch" O'Hare) นักบินเครื่องบินรบในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ซึ่งได้รับเหรียญกล้าหาญ Medal of Honor
จนกระทั่งช่วงต้นทศวรรษ 1950 (พ.ศ. 2493) ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์ ซึ่งเป็นท่าอากาศยายหลักของชิคาโกมาตั้งแต่พ.ศ. 2474 นั้นคับแคบและหนาแน่น แม้ว่าจะได้มีการขยายแล้วก็ตาม และยังไม่สามารถรองรับเครื่องบินเจ็ตรุ่นใหม่ได้ เมืองชิคาโกและการท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกา (FAA) หันมาพัฒนาโอแฮร์ให้เป็นท่าอากาศยานหลักของชิคาโกแทน เที่ยวบินพาณาชย์เที่ยวแรกเริ่มให้บริการในปีพ.ศ. 2498 หลังจากนั้นได้สร้างอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศขึ้นในปีพ.ศ. 2501 แต่เที่ยวภายภายในประเทศเส้นทางหลักยังคงใช้ที่มิดเวย์จนกระทั่งการขยายของโอแอร์แล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2505 การย้ายที่บินภายในประเทศจากมิดเวย์มายังโอแฮร์ ทำให้โอแฮร์กลายเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก รองรับผู้โดยสาร 10 ล้านคนต่อปี และในระยะเวลาเพียง 2 ปี จำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในปีพ.ศ. 2540 จำนวนผู้โดยสารถึงระดับ 70 ล้านคน และขณะนี้เพิ่มเป็น 80 ล้านคนต่อปี
อุบัติเหตุ
[แก้]- 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 อเมริกันแอร์ไลน์ เที่ยวบิน 191 ตกขณะนำเครื่องขึ้น เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส ใน ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ผู้โดยสาร 271 คน และอีก 2 คนบนภาคพื้นดิน เสียชีวิต เหตุการณ์ครั้งนี้ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีผู้เสียชีวิตจากเครื่องบินตกมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา
- 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 สมาชิกกลุ่มอัลกออิดะฮ์ โจเซ่ พาดิลลา (Jose Padilla) ถูกจับกุมขณะที่เครื่องบินที่เขานั่งมาลงจอดเพื่อตรวจค้นระเบิดที่ติดตั้งไว้ตามการรายงาน
- 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 พนักงานของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ได้แจ้งความว่ามองเห็นเครื่องบินรูปร่างคล้านจาน พนักงานเหล่านั้น รวมทั้งนักบินกล่าวว่ามองเห็นวัตถุลอยเหนือท่าอากาศยานก่อนที่พุ่งตัวผ่านกลีบเมฆขึ้นไป การท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาได้รับรายงานว่ามีเจ้าหน้าที่ระดับสูงได้โทรมาที่หอบังคับการบินโอแฮร์และสอบถามถึงบุคคลที่ได้มองเห็นวัตถุประหลาด แต่เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินได้กล่าวตอบอะไร และจากการตรวจสอบเรดาห์ก็ไม่พบวัตถุอะไรที่ผิดปกติ
แผนปรับปรุง
[แก้]ปริมาณการใช้บริการจำนวนมากและปัญหาความหนาแน่นทำให้มีการยกเลิกเที่ยวบิน และทำให้เกิดความล่าช้าที่โอแฮร์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบินทั่วสหรัฐอเมริกา มีรายงานอย่างเป็นทางการว่าโอแฮร์เป็นท่าอากาศยานที่ตรงต่อเวลาน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยวัดจากสัดส่วนของเที่ยวบินที่เกิดความล่าช้า ในปีพ.ศ. 2547 ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ และอเมริกัน แอร์ไลน์ มีข้อตกลงร่วมกันที่จะปรับเปลี่ยนตารางเวลาบินเพื่อลดความคับคั่งทั้งขาเข้าและขาออก และเพราะการจราจรทั้งขาเข้า ขาออก และท่าอากาศยานบริเวณใกล้เคียง เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินของโอแฮร์และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอื่นๆต้องทำงานหนักมากที่สุดในโลก เนื่องด้วยปริมาณเที่ยวบินจำนวนมากต่อชั่วโมง
เมืองชิคาโกได้อนุมัติวงเงินทุน 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของท่าอากาศยานอีกร้อยละ 60 และลดความล่าช้าลงประมาณร้อยละ 79[6] โดยแผนงานนี้ได้รับอนุมัติจากการท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งเกี่ยงข้องกับการขยายพื้นที่ของท่าอากาศยานและอาคารผู้โดยสาร โดยจะมีทางวิ่ง 4 เส้น ที่สร้างเพิ่ม และรื้อถอนออกไป 3 เส้น ซึ่งจะทำให้มีทางวิ่งขนานกันทั้งหมด 8 เส้น คล้ายกับกรณีของดัลลาส โดยจะทำให้โอแฮร์ขยายขีดความสามารถที่จำกัดเพื่อที่โอแฮร์จะไม่เพลี้ยงพล้ำให้กับท่าอากาศยานใดๆ ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารในอนาคต แผนการปรับปรุงนี้ได้เริ่มลงมือก่อสร้างแล้ว หลังจากที่เกิดความล่าช้ามานาน และทางวิ่งใหม่เส้นแรกคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2551-2552 และจะขยายอาคารผู้โดยสาร 3 และ 5 ส่วนอาคารผู้โดยสารหลังใหม่จะตั้งอยู่สุดทางฝั่งตะวันตกของพื้นที่ พร้อมกับทางเข้าออกใหม่ อย่าไรก็ตามจะต้องมีการเวนคืนที่ดินบางส่วน ประมาณ 2,800 ครัวเรือน โครงการนี้จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้สามารถรองรับการจราจรได้มากกว่า 3,800 เที่ยวบินต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันที่ประมาณ 2,700 เที่ยวบินต่อวัน และจะทำให้ความสามารถในการรองรับจำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
-
ระยะที่ 1 ของแผนปรับปรุง
-
ระยะที่ 2
-
ระยะที่ 3
-
ทิศทางทางวิ่งเมื่อเสร็จสิ้นตามแผน
การต่อต้าน และทางเลือกอื่น
[แก้]มีการรวมตัวกันของชุมชนเบนเซนวิลล์ และเอลก์กรูฟวิลเลจ ในรัฐอิลลินอย ขึ้นเป็นคณะกรรมการชุมชนรอบบเมืองโอแฮร์ (Suburban O'Hare Commission)[7] เพื่อต่อต้านแผนปรับปรุงท่าอากาศยาน เพราะจะทำให้บ้านเรือน และธุรกิจร้านค้าต้องย้ายออกไปจากพื้นที่ ถึงแม้ว่าข้อเรียกร้องจะไม่ประสบผลสำเร็จมากนัก แต่ก็ได้คำสั่งศาลให้คุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการขยายท่าอากาศยานออกไปก่อน อย่างไรก็ตามคำสั่งคุ้มครองก็ยกเลิกไปในภายหลังไม่นานนัก นอกจากนี้ทางคณะกกรมการชุมชนได้ยื่นข้อเสนอให้หันไปพัฒนาท่าอากาศยานอับราฮัม ลิงคอล์น เนชั่นเนลแทน เพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ แต่ไม่มีสายการบินใดตอบรับข้อเสนอนี้
ในปีพ.ศ. 2538 เมืองชิคาโก และเมืองแกรี่ ในรัฐอินดีแอนา ได้จับมือกันตั้งกรรมการบริหารท่าอากาศยานนานาชาติแกรี่/ชิคาโกขึ้นมาปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้ขึ้นมาเป็นท่าอากาศยานอันดับ 3 ที่รองรับเมืองชิคาโก แต่แผนปฏิบัตินี้มีขนาดเล็กกว่าข้อเสนอปรับปรุงท่าอากาศยานอับบราฮัม ลินคอล์น แต่แกรี่/ชิคาโกก็มีความพร้อมตรงที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าชิคาโกมิดเวย์ รวมทั้งมีทางวิ่งให้บริการที่ยาวกว่าทางวิ่งที่ยาวที่สุดของชิคาโกมิดเวย์ อย่างไรก็ตามรัฐบาลรัฐอิลลินอยก็ไม่ได้เห็นพ้องกับเมืองชิคาโกเท่าใดนัก มีเพียงผู้ว่าการรัฐอินเดียนา มิตช์ แดเนียลส์ ที่ให้การสนับสนุนเงินทุนพัฒนาท่าอากาศยาน ซึ่งขณะนี้กำลังก่อสร้างขยายขนาดทางวิ่งอยู่ และองค์กรการบินสหรัฐอเมริกา (FAA) ก็เห็นชอบกับโครงการนี้ และเห็นความจำเป็นในการขยายขีดความสามารถทั้งของโอแฮร์ และแกรี่/ชิคาโก เพื่อรองรับเมืองชิคาโก
นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโก/ร็อคฟอร์ด ในเมืองร็อคฟอร์ด ที่มีความพยายามเสนอตัวเป็นทางเลือกเพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ ปัญหาที่สำคัญของท่าอากาศยานแห่งนี้ก็คือ การจราจรระหว่างท่าอากาศยานกับโอแฮร์กับตัวเมืองชิคาโก ที่ยังไม่พร้อมที่ระรองรับการขยายตัว แต่นายกเทศมนตรีคนปัจจุบันของเมืองร็อคฟอร์ด แลร์รี่ มอร์ริสซีย์ ก็ได้เร่งสร้างระบบรถไฟความเร็วสูงระหว่างชิคาโก/ร็อคฟอร์ดและโอแฮร์ เพื่อสร้างโอกาสของท่าอากาศยานในอนาคต
ท่าอากาศยานนานาชาติเจเนรัลมิตเชลล์ ในมิลวอกี รัฐวิสคอนซิน เป็นท่าอากาศยานอีกแห่งหนึ่งที่เสนอตัวเป็นทางเลือกของเมืองชิคาโก และเมืองทางตอนเหนือของอิลลินอยส์ และยังมีระบบรถไฟแอมแทร็ก เชื่อมต่อระหว่างท่าอากาศยานมิตเชลล์และเมืองชิคาโกอยู่แล้ว
อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน
[แก้]ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์มีอาคารผู้โดยสาร 4 หลัง โดยกำลังพิจารณาก่อสร้างเพิ่มอีก 2 หลังหรือมากกว่า และมีความเป็นไปได้สูงที่จะสร้างกลุ่มอาคารผู้โดยสารทางฝั่งตะวันตกเพิ่มเติม
อาคารผู้โดยสาร 1 (อาคารผู้โดยสารยูไนเต็ดแอร์ไลน์)
[แก้]เที่ยวบินระหว่างประเทศจะให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร 5
อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศเดิมที่สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2498 ถูกแทนที่ด้วยอาคารผู้โดยสาร 1 ในปัจจุบันเมื่อปีพ.ศ. 2530 ซึ่งออกแบบโดยเฮลมุต ยาห์น
อาคารเทียบเครื่องบิน บี
[แก้]- ลุฟต์ฮันซา (แฟรงก์เฟิร์ต, มิวนิก)
- ลุฟต์ฮันซา ที่ให้บริการโดย ไพรแวตแอร์ (ดัสเซลดอร์ฟ)
- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
- ภายในประเทศ: (กรีนส์โบโร, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, โคลัมบัส, แจ๊คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), แจ็คสันโฮล, ชาร์ลอตต์, ซอลต์เลกซิตี, ซาคราเมนโต, ซานโจเซ (CA), ซานดิเอโก, ซานฟรานซิสโก, ซานแอนโตนิโอ, ซานฮวน, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์น เคนตักกี, ซีแอตทัล/มาโคมา, เซนต์โธมัส, เซนต์หลุยส์, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ดีทรอยส์, เดนเวอร์, เดย์ตัน, เดส มอนส์, นิวยอร์ก-ลากวาเดีย), นูอาร์ก, บอยส์, บอสตัน, บับฟาโล, บัลติมอร์/วอชิงตัน, เบอร์ลังตัน, โบซแมน (เฉพาะฤดูกาล), ปาล์มสปริง (เฉพาะฤดูกาล), โปรวิเดนซ์, พอร์ทแลนด์ (OR), พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, ริชมอนด์, โรเชสเตอร์ (NY), วอชิงตัน-ดัลเลส, วอชิงตัน-เรแกน, เวสต์ปาล์มบีช, สโปเคน, ออลบานี, ออเรนจ์เคาน์ตี, อังกาเรจ (เฉพาะฤดูกาล), อินเดียนาโปลิส, แอตแลนตา, โอกลาโฮมาซิตี, โอ๊คแลนด์, โอมาฮา, ฮอนโนลูลู, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงฟิลด์, ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล, แฮริสเบิร์ก)
- ระหว่างประเทศ: (แกรนเคย์แมน, คาลแกรี, โคซูเมล, ซานโจเซเดลคาโบ, ซานเปาโล-กัวรูลอส, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, โซล-อินชอน, โตเกียว-นาริตะ, โทรอนโต-เพยีร์สัน, ไทเป-เถาหยวน, นาโงยา-เซนแทรย์, เบอร์มิวดา, ปักกิ่ง, ปารีส-ชาร์ลเดอโกล, เปอร์โตวัลลาร์ตา, แฟรงก์เฟิร์ต, มอนเตโกเบย์, เม็กซิโกซิตี, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลิเบอเรีย, วินนิเป็ก, แวนคูเวอร์, สิงคโปร์, อัมสเตอร์ดัม, อารูบา, ฮ่องกง)
- เท็ด ให้บริการโดย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ (แคนคูน, ซานโจเซเอลคาโบ, ซานอวน, แทมป้า, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ตโลเดอเดล, ฟินิกซ์, ไมอามี, ลาสเวกัส, ออร์แลนโด)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โกเจ็ตแอร์ไลน์ (แจ็คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), ซานแอนโตนิโอ, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีราคูส, เซนต์หลุยส์, ตูลซา, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี (จนถึงวันที่ 23เมษายน 2550), โอมาฮา)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย ชัตเติลอเมริกา (แกรนแรปิดส์, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, เดสมอนส์, นิวออร์ลีน, บับฟาโล, ฟอร์ทไมเยอส์, มอนทรีอัล, มินนีอาโปลิส/เซนต์ปอล, เมียร์เทิลบีช, ราเลน/เดอร์แฮม, ไวท์เพลนส์, ออตตาวา, ออลบานี, ออลบูเควิก, อินเดียนาโปลิส, แอตแลนตา, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงฟิลด์, ฮาลิแฟก (เริ่ม 7 มิถนายน 2550), ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โชโตโกวแอร์ไลน์ (ซีราคูซ, เซาท์เบนด์, บับฟาโล, โรเชสเตอร์ (NY), หลุยส์วิลล์, อินเดียนาโปลิส)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย ทรานสเตทแอร์ไลน์ (ซีราคูซ, เซนต์หลุยส์, เซาท์เบนด์, บลูมิงตัน, เบอร์ลิงตัน, พอร์ทแลนด์ (ME), มอนทรีอัล, มิลโวกี, แมดิสัน, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี, ราเลน/เดอร์แฮม, ริชมอนด์, ไวท์เพลนส์, ออลบานี, โอมาฮา, แฮริสเบิร์ก)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เมซาแอร์ไลน์ (กรีนวิลล์ (SC), แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, คาลแกรี, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, โคลัมเบีย, โคโลลาโดสปริงส์, ชาร์ล๊อตต์, ชาร์เลสตัน (SC), ซาวันนาห์, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, เซาท์เบนด์, เดย์โทนาบีช, เดสมอนส์, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, แนชวิลล์, บอยส์, เบอร์มิงแฮม (AL), มิลโวกี, เมมฟิส, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี, ราเลน/เดอร์แฮม, โรเชสเตอร์ (NY), วิชิตา, ไวล์ค-แบร์/สครานตัน, สปริงฟิลด์ (IL) (เริ่ม 24 เมษายน 2550), ออสติน, อัลเลนทาวน์/เบธเลแฮม, แอตแลนตา, แอ็ปเปิลตัน)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย สกายเวสต์ (กาลามาซู, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, โคโลราโดสปริงส์, แจ็คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), ชาร์เลสตัน (WV), ซอลท์เลกซิตี, ซากีนอ, ซานแอนโตนิโอ, ซาวันนาห์, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, เซาท์เบนด์, โซกซ์ฟอลส์, เดย์ตัน, เดสมอนส์, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, น็อกซ์วิลล์, นอร์ฟอร์ก, แนชวิลล์, เบอร์มิงแฮม (AL), เบอร์ลิงตัน, โปรวิเดนซ์, พิตส์เบิร์ก, พิโอเรีย, ฟอร์ทเวย์น, ฟาเย็ตวิลล์ (AR), ฟาร์โก, มิลโวกี, เมมฟิส, โมลีน/ควอดซิตี, รัวโนก, แรปิดซิตี, ลินคอล์น, เล็กซิงตัน, แลนซิง, วัวซัว/สตีเวนพอยส์, วิชิตา, ไวค์แบร์/สแครนตัน, สปริงฟิลด์ (IL), สปริงฟิลด์/เบรนสัน, หลุยส์วิลล์, ออสติน, อัลเลนทาวน์/เบธเลแฮม, อากรอน/แคนตัน, อินเดียนาโปลิส, เอ็ดมอนตัน, เอสเปน (เฉพาะฤดูกาล), แอ็ปเปิลตัน, โอมาฮา, ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัน)
- ออลนิปปอนแอร์เวย์ (โตเกียว-นาริตะ)
อาคารเทียบเครื่องบิน ซี
[แก้]- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ (ดูที่คองคอส บี)
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส (ดูที่คองคอส บี)
อาคารผู้โดยสาร 2
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 2 สร้างขึ้นเมื่อครั้งที่มีการขยายท่าอากาศยานในปีพ.ศ. 2505 พร้อมกับอาคารผู้โดยสาร 3
อาคารเทียบเครื่องบิน อี
[แก้]- คอนติเนนตัล แอร์ไลน์ (นูอาร์ก, ฮุสตัน-อินเตอร์คินติเนนตัล)
- คอนติเนนตัลเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โชโตโกวแอร์ไลน์ (ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล)
- คอนติเนนตัลเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เอ็กซ์เพรสแอร์ไลน์ (คลีฟแลนด์, นูอาร์ก, ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล)
- เจ็ตบลูแอร์เวย์ (นิวยอร์ก-เจเอฟเค, ลองบีช)
- นอร์ทเทิร์นแอร์ไลน์ (ดีทรอยส์, มินนีอาโปลิส/เซนต์ปอล, เมมฟิส)
- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส (ดูที่คองคอส บี)
- แอร์แคนาดา (โทรอนโต-เพียร์สัน, มอลทรีอัล)
อาคารเทียบเครื่องบิน เอฟ
[แก้]- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
- ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส (ดูที่คองคอส บี)
- ยูเอสแอร์เวย์ (ชาร์ล็อตต์, พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, ฟีนิกซ์)
- ยูเอสแอร์เวย์ ให้บริการโดย อเมริกันเวสต์แอร์ไลน์ (ฟีนิกซ์, ลาสเวกัส)
- ยูเอสเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย รีพับบลิกแอร์ไลน์ (พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, วอชิงตัน-เรแกน)
- ยูเอสเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย แอร์วิสคอนซิน (พิตส์เบิร์ก)
อาคารผู้โดยสาร 3
[แก้]เที่ยวบินระหว่างประเทศจะให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร 5
อาคารผู้โดยสาร 3 สร้างเมื่อพ.ศ. 2505 และได้มีการต่อเติมในปีพ.ศ. 2526 ในส่วนของคองคอส แอล ขณะนี้กำลังมีการปรับปรุงคาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปีพ.ศ. 2550
อาคารเทียบเครื่องบิน จี
[แก้]- อเมริกันแอร์ไลน์
- อเมริกันอีเกิล (กรีนเบย์, กรีนโบโร, กรีนวิลล์ (SC), กาลามาซู, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, โคลัมบัส, โคโลราโดสปริงส์, แจ็คสัน, แจ็คสันวิลล์, ชาร์ล็อตต์, เชรฟพอร์ท (เริ่ม 10 เมษายน 2550), แชตตานูกา, แชมเปญ/เออร์บานา, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, ดีทรอยส์, ดูบัก, เดย์ตัน, เดสมอนส์, ตัน, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, โทเลโด, น็อกซ์วิลล์, นอร์ฟอล์ก, นิวเบิร์ก, นิวยอร์ก-เจเอฟเค, แนชซู, แนชวิลล์, บลูมมิงตัน, บับฟาโล, บัลติมอร์/วอชิงตัน, บาตัน เราจ์, เบอร์มิงแฮม (AL) (เริ่ม 10 เมษายน 2550), โปรวิเดนซ์, พิตส์เบิร์ก, พิโอเรีย, เพนซาโคลา, ฟรีพอร์ท, ฟลินต์, ฟอร์ทเวย์น, ฟาเย็ตต์วิลล์ (AR), มอนทรีอัล, มาร์เกว็ตเต, มิลโวกี, เมดิสัน, เมมฟิส, โมบาย (เริ่ม 10 เมษายน 2550), โมลีน/ควอดซิตี, รัชมอนด์, โรเชสเตอร์ (MN), โรเชสเตอร์ (NY), ลาครอส, ลิตเติลร็อค, เล็กซิงตัน, วอชิงตัน-ดัลเลส (จนถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2550), วิชิตา, ไวท์เพลนส์, สปริงส์ฟิลด์ (MO), หลุยส์วิลล์, ออตตาวา, อัลบานี, อินเดียนาโปลิส, อีแวนส์วิลล์, แอตแลนตา, โอกลาโอมาซิตี, โอมาฮา, ฮันส์วิลล์, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงส์ฟิลด์, ฮาลิแฟก (เริ่ม 1 พฤษภาคม 2550), แฮริสเบิร์ก)
อาคารเทียบเครื่องบิน เอช
[แก้]- อเมริกันอีเกิล (ดูที่คองคอส จี)
- อเมริกันแอร์ไลน์
- ภายในประเทศ: (แคนซัสซิตี, แจ็คสันโฮล (เฉพาะฤดูกาล), ซอลท์เลกซิตี, ซานโจเซ (CA), ซานดิเอโก, ซานฟรานซิสโก, ซานแอนโตนิโอ, ซานฮวน, ซีแอตเทิล/ทาโคมา, เซนต์หลุยส์, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ดีทรอยส์, เดนเวอร์, ตูลซา, ทักสัน, แทมป้า, นิวยอร์ก-ลากวาเดีย, นูอาร์ก, นิวออร์ลีนส์, แนชวิลล์, บอสตัน, ปาล์มสปริงส์, พอร์มแลนด์ (OR), ฟอร์ทเมเยอร์, ฟอร์ทลัวเดอเดล, ฟาเย็ตวิลล์ (AR), ฟิลาเดเฟีย, ฟีนิกซ์, มอนโทรส/เทลลูไรด์ (เฉพาะฤดูกาล), มาอุย, มินนีอาโปลีส/เซนต์ปอล, ไมอามี, ราเลน/เดอร์แฮม, เรโน/ทาโฮ, ลอสแอนเจลิส, ลาสเวกัส, วอชิงตัน-เรแกน, เวสท์ปาล์มบีช (เฉพาะฤดูกาล), ออร์แลนโด, ออเรนจ์เคาน์ตี, ออสติน, อัลบูเคิร์ก, อินเดียนาโปลิส, อีเกิล/เวล (เฉพาะฤดูกาล), เอลปาโซ, แอตแลนตา, ฮอนโนลูลู, ฮุสตอน-อินเตอร์คอนติเนนตัล, เฮย์เดน/สตีมโบทสปริงส์ (เฉพาะฤดูกาล))
- ระหว่างประเทศ: (คาลแกรี (เฉพาะฤดูกาล), แคนคูน, แชนนอน, ซารโจเซเดลคาโบ, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, ดับลิน, เดลลี, โตเกียว-นาริตะ, โทรอนโต-เพียร์สัน, บรัสเซลส์, ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล, เปอร์โตวัลลาร์ตา, แฟรงก์เฟิร์ต, มอนทรีอัล, เม็กซิโกซิตี, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), โรม-ฟิอูมิชิโน (เริ่ม 10 เมษายน 2550), ลอนดอน-ฮีทโธรว์, แวนคูเวอร์ (เฉพาะฤดูกาล), อคาพูลโค (เฉพาะฤดูกาล))
อาคารเทียบเครื่องบิน เค
[แก้]- อเมริกันแอร์ไลน์ (ดูที่คองคอส เอช)
อาคารเทียบเครื่องบิน แอล
[แก้]- เดลต้า แอร์ไลน์ (ซอลท์เลกซิตี, แอตแลนตา)
- เดลต้าคอนเนคชั่น ให้บริการโดย คอมแอร์ (ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, นิวยอร์ก-เจเอฟเค)
- เดลต้าคอนเนคชั่น ให้บริการโดย ชัทเทิล อเมริกา (แอตแลนตา) (เริ่ม 1 พฤษภาคม 2550)
- สปิริตแอร์ไลน์ (ฟอร์ทไมเยอร์, ฟอร์ทโลเดอเดล)
- อเมริกันแอร์ไลน์ (ดูที่คองคอส เอช)
- อลาสกาแอร์ไลน์ (ซีแอตเทิล/ทาโคมา, แองโคเรจ)
- ไอบีเรีย (มาดริด)
อาคารผู้โดยสาร 4
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 4 เคยใช้เป็นอาคารผู้โดยสารระหว่างเทศในช่วงพ.ศ. 2527 - 2536 ตั้งอยู่บริเวณชั้นล่างของอาคารจอดรถ โดยผู้โดยสารระหว่างประเทศจะเชคอินที่อาคารผู้โดยสาร 4 จากนั้นจะนั่งรถบัสไปยังเครื่องบินโดยสาร จนกระทั่งอาคารผู้โดยสาร 5 เปิดให้บริการ อาคารผู้โดยสาร 4 จึงปรับเปลี่ยนเป็นอาคารรถโดยสารของระบบขนส่งชิคาโก รถบริการของโรงแรม และระบบขนส่งอื่นๆ
อาคารผู้โดยสาร 5 (อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ)
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 5 จะให้บริการสำหรับเที่ยวระหว่างประเทศทุกเที่ยวบิน ยกเว้นเที่ยวบินที่มาจากท่าอากาศยานที่มีศูนย์ตรวจเชคล่วงหน้าของศุลกากรสหรัฐอเมริกา (US border preclearance)
อาคารเทียบเครื่องบิน เอ็ม
[แก้]- การบินไทย (กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ, โซล-อินชอน)
- โกเรียนแอร์ (โซล-อินชอน)
- เคย์แมนแอร์เวย์ (แกรนด์เคย์แมน)
- เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (ดูไบ)
- เคแอลเอ็ม (อัมสเตอร์ดัม)
- เจแปนแอร์ไลน์ (โตเกียว-นาริตะ)
- เตอร์กิชแอร์ไลน์ (อัสตัยบูล-แอตตาตุก)
- ทีเอซีเอ (กัวเตมาลาซิตี, ซานซัลวาดอร์)
- บริติช แอร์เวย์ (ลอนดอน-ฮีทโธรว์)
- บีเอ็มไอ (แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ))
- ปากีสถานอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ (การาจี, ละฮอร์, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), อิสลามาบาด)
- เม็กซิกานา (กัวดาลาจารา, ซาเคตแคส, มอนเตอร์เรย์, โมเรเลีย, เลออน)
- ยูเอสเอ 3000 (แคนคูน (เช่าเหมาลำ), ปุนตาคานา, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ทไมเยอร์, มอนเตโกเบย์, เวนต์ปีเตอร์สเบิร์ก/เคลียวอเตอร์, ออร์แลนโด, ฮัวตูลโต (เช่าเหมาลำ), ฮิกซ์ตาปา/ซิฮัวตาเนโจ)
- รอยัลจอร์แดเนียน (อัมมาน)
- เวอร์จิ้น แอตแลนติก แอร์เวย์ (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) (เริ่ม 23 เมษายน 2550)
- สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ (ซูริก)
- ออสเตรียนแอร์ไลน์ (เวียนนา) (เริ่ม 23 พฤษภาคม 2550)
- อัลอิตาเลีย (มิลาน-มัลเปนซา)
- เอเชียนาแอร์ไลน์ (โซล-อินชอน)
- เอล อัล (เทลอาวีฟ) (จนถึงวันที่ 17 เมษายน 2550)
- เอสเอเอส (โคเปนเฮเกน, สต็อกโฮล์ม-อาร์แลนดา)
- แอร์เจไมกา (มอนเตโกเบย์)
- แอร์ฟรานซ์ (ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล)
- เวียดนามแอร์ไลน์ (ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี้)
- แอร์ลินกัส (ดับลิน, แชนนอน)
- แอร์อินเดีย (เดลลี, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ไฮเดอราบัด)
- แอโรเม็กซิโก (กัวดาลาจารา, ดูแรนโก, เลออน, เม็กซิโกซิตี)
- แอลโอที โปลิสแอร์ไลน์ (กราโก, วอร์ซอ)
สายการบินขนส่งสินค้า
[แก้]- กาลิตตาแอร์
- โกเรียนแอร์คาร์โก
- คาเธย์แปซิฟิก
- คาร์โก 360
- คาร์โกลักซ์
- เจมินิแอร์คาร์โก
- เจเอแอลคาร์โก
- ไชน่าเซาท์เทิร์น
- ไชน่าอิสเทิร์น
- ไชน่าแอร์ไลน์
- ดีเอชแอล
- นิปปอนคาร์โกแอร์ไลน์
- โพลาร์แอร์คาร์โก
- เฟเดอรัลเอ็กซ์เพรส
- มาร์ตินแอร์
- ยูพีเอส
- ลุฟต์ฮันซาคาร์โก
- สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก
- แอลอิตาเลีย
- อีวีเอแอร์
- เอเชียนา
- เอ็นดับเบิลยูคาร์โก
- เอเวอร์กรีน
- เอเอ็นเอคาร์โก
- แอตลาสแอร์
- แอร์ไชน่า
- แอร์ฟรานซ์
- แอโรมเอ็กซ์เพรส
สิ่งอำนวยความสะดวก
[แก้]ทางวิ่ง
[แก้]มีทางวิ่งทั้งหมด 6 เส้น วางตัวขนานกันอยู่ 3 คู่ ใน 3 ทิศทาง ทางวิ่งที่ยาวที่สุด คือ ทางวิ่ง 14R/32L ขนาด 3,962 x 60 เมตร (13,000 x 200 ฟุต) ทางวิ่ง 14L, 14R, 27L และ 27R ใช้ระบบลงจอด (Instrument Landing System) ระดับที่ 3 ส่วนทางวิ่งที่เหลือยกเว้นทางวิ่ง 04L ใช้เต็มระบบ
ทางวิ่งของโอแฮร์มีจุดตัดของทางวิ่งจำนวนมาก และสามารถก่อให้เกิดปัญหาได้จากภาวะที่สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย หรือการจราจรที่คับคั่ง หรือกระแสลม ดังนั้นเจ้าหน้าหอบังคับการบินจึงต้องรอจนกว่าทางวิ่งจะว่างโดยตลอด ถึงจะอนุญาตให้ทางวิ่งอีกเส้นที่ตัดกันใช้งานได้ และหากเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินทำงานผิดพลาด ก็อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ และในช่วงหลายปีหลังมาอุบัติเหตุที่เครื่องบินเกือบจะเฉี่ยวหรือชน หรือต้องหักหลบจนเครื่องไถลออกนอกทางวิ่งอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นแผนปรับปรุงที่ผ่านการอนุมัติไปแล้ว ก็จะช่วยแก้ปัญหากรณีนี้ไปได้อย่างมาก
ทางวิ่ง 3 ใน 4 เส้นเริ่มแรกตั้งแต่ปีพ.ศ. 2486 ได้มีการปรับเปลี่ยนให้ตรงตามมาตรฐานปัจจุบัน แล้วก็ได้มีการสร้างทางวิ่งเพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2498, 2512 และ 2514 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2546 ทางวิ่งเท่า 18/36 ได้ยกเลิกการใช้งานเป็นการถาวร ปัจจุบันเป็นทางขับ GG แทน
แผนปรับปรุงท่าอากาศยาน จะรือถอนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และสร้างทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก เพิ่มขึ้นอีก 4 เส้น พร้อมทั้งขยายทางวิ่งเดิมทีวางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก 2 เส้น ส่วนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคงใช้งานตามเดิม
ในบางครั้งทางวิ่ง 32L จะใช้ในช่วงที่สั้นลงจากความยาวจริงสำหรับนำเครื่องขึ้น โดยเครื่องบินจะขับเครื่องเข้าสู่ทางวิ่งจากทางขับ T10 (กรณีปกติ) หรือจากทางขับ M (กรณีอื่น) การใช้รูปแบบนี้ทำให้ทางวิ่งไม่ได้ใช้งานเต็มประสิทธิภาพ แต่ก็ทำให้ทางวิ่ง 09R/27L สามารถใช้งานไปได้พร้อมกัน
เนื่องจากมาตรการควบคุมเสียง โอแฮร์จึงได้รับอนุญาตให้ใช้ได้เพียงทางวิ่งเดียวระหว่างเวลา 24.00 - 06.00 น.
ทางวิ่งใหม่ตามแผนปรับปรุงท่าอากาศยานได้เตรียมให้สามารถรองรับเครื่องเอ 380 ได้ โดยก่อสร้างให้แข็งแรงขึ้นและกว้างขึ้นเพื่อรองรับเครื่องบนขนาดใหญ่ได้ และเนื่องจากแผนปรับปรุง นับตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ทางวิ่ง 09R/27L ได้เปลี่ยนชื่อเป็น 10/28 และนับตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ทางวิ่ง 9L/27R จะเปลี่ยนเป็น 9R/27L และประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทางวิ่งเส้นใหม่ด้านเหนือ จะเรียกว่า 9L/27R[8]
การเดินทาง
[แก้]- รถยนต์ใช้เส้นทางหลวง I-190 ซึ่งแยกออกมาจาก I-90 (the Kennedy Expressway) ซึ่งมุ่งสู่ตัวเมองชิคาโก นอกจากนี้รถยนต์ส่วนบุคคลสามารถเข้าทางถนนแมนเฮม (Mannheim) ด้านตะวันออกของท่าอากาศยาน ส่วนคลังจะเข้าทางด้านทิศใต้
- รถไฟของ ระบบรถไฟชิคาโก (Chicago Transir Authority) เส้นสีน้ำเงิน เชื่อมต่อกับระบบรถไฟใต้ดิน
- ระบบรถไฟของท่าอากาศยาน VAL เชื่อมต่อระหว่างอาคารผู้โดยสาร 1, 2, 3 และ 5 กับอาคารจอดรถระยะยาว ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และจะมีเที่ยวรถทุก 3-6 นาที
สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ
[แก้]กลุ่มอาคารคลังสินค้าอยูทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2527 แทนอาคารคลังสินค้าเดิมที่อยู่ตรงที่อาคารผู้โดยสาร 5 ในปัจจุบัน โรงผลิตเครื่องบินดักลาสเดิมที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถูกผนวกเข้ากับกองบินรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (Air National Guard) และกองบินสำรอง (Air Force Reserve) แต่ก็ได้ปิดตัวลงไปเมื่อปีพ.ศ. 2541 และขณะอยู่ระหว่างการก่อสร้างเป็นอาคารคลังสินค้า และอาคารผู้โดยสารเที่ยวบินเช่าเหมาลำ บริเวณที่จอดเครื่องบินประกอบด้วยโรงจอดหลายหลังและมีขนาดจุเครื่องบินโบอิง 747ได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ FAA Airport Master Record for ORD (Form 5010 PDF), effective March 15, 2007.
- ↑ Monthly Operations, Passengers, Cargo Summary By Class เก็บถาวร 2012-02-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, For December 2008 (published January 21, 2009)
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-05. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-23. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
- ↑ Golbal Traveler เก็บถาวร 2007-07-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (pdf)
- ↑ "แผนปรับปรุงท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-01-07. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
- ↑ "www.suburban-ohare.org". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-09. สืบค้นเมื่อ 2021-08-16.
- ↑ การปรับเปลี่ยนชื่อเรียกทางวิ่ง เก็บถาวร 2008-04-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (pdf)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ เก็บถาวร 2017-07-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
- แผนการปรับปรุงท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ เก็บถาวร 2007-04-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)