พระมหากษัตริย์เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
พระมหากษัตริย์แห่งเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เป็นสถาบันพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์[2] โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข พระมหากษัตริย์พระองค์แรกคือ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 โดยในเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทรงครองราชย์ตั้งแต่ได้รับเอกราชเมื่อ 27 ตุลาคม ค.ศ. 1979 ซึ่งทรงเป็นพระประมุขของอีกสิบห้าราชอาณาจักรในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ โดยในแต่ละประเทศนั้นถือว่ามีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นของตนตามกฎหมายและแยกจากกัน การสืบราชสันตติวงศ์ของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์นั้นกำกับอยู่ในพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701ของสหราชอาณาจักรซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญ
พระมหากษัตริย์แห่งเซนต์วินเซนต์ และเกรนาดีนส์ | |
---|---|
The King of Saint Vincent and the Grenadines (อังกฤษ) | |
อยู่ในราชสมบัติ | |
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ตั้งแต่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022 | |
รายละเอียด | |
พระราชอิสริยยศ | สมเด็จพระราชาธิบดี แห่งเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ |
รัชทายาท | เจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์ |
กษัตริย์องค์แรก | สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 |
สถาปนาเมื่อ | 27 ตุลาคม ค.ศ. 1979[1] |
บทบาททางรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย์แห่งเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์นั้นมีผู้แทนพระองค์คือ ผู้สำเร็จราชการแห่งเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์[3][4]
อ้างอิง
แก้- ↑ Elizabeth II (26 กรกฎาคม 1979), Constitution of Saint Vincent and the Grenadines (PDF), Preamble.1.1, Kingstown: Queen's Printer, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 กันยายน 2015, สืบค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2014
- ↑ Royal Household. "The Queen and the Commonwealth > Queen and St Vincent and the Grenadines". Queen's Printer. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBuckRole
- ↑ Cabinet of Saint Vincent and the Grenadines. "Government > Governor General". Queen's Printer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2009. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.