การล้มล้างอิทธิพลของสตาลิน
การล้มล้างอิทธิพลของสตาลิน (รัสเซีย: десталинизация, อักษรโรมัน: destalinizatsiya; อังกฤษ: de-Stalinization) ประกอบไปด้วยหนึ่งในการปฏิรูปทางการเมืองในสหภาพโซเวียต ภายหลังการเสียชีวิตมายาวนานของผู้นำโจเซฟ สตาลิน ในปี ค.ศ. 1953 และการขึ้นสู่อำนาจของนีกีตา ครุชชอฟ[1]
การปฏิรูปครั้งนี้ประกอบไปด้วยการเปลี่ยนแปลงหรือลบออกสถาบันอันสำคัญที่ช่วยให้สตาลินกุมอำนาจ: ลัทธิบูชาบุคคลที่รายล้อมรอบตัวเขา ระบบการเมืองแบบลัทธิสตาลิน และระบบค่ายแรงงานกูลัก ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกสร้างขึ้นโดยสตาลิน การปฏิรูปเหล่านี้ได้เริ่มต้นโดยเหล่าผู้นำร่วมซึ่งประสบความสำเร็จหลังจากที่เขาเสียชีวิตในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1953 ประกอบไปด้วยเกออร์กี มาเลนคอฟ นายกรัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต ลัฟเรนตีย์ เบรียา หัวหน้าของกระทรวงกิจการภายใน และนีกีตา ครุชชอฟ เลขาธิการคนแรกของคณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต(CPSU)
อ้างอิง
แก้- ↑ Hunt, Michael H. (2015-06-26). The world transformed: 1945 to the present. p. 153. ISBN 978-0-19-937102-0. OCLC 907585907.